Page 385 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 385

ในเอกสํารของพมํา่ มกั กลํา่ วถงึ เหตกุ ํารณค์ วํามผดิ ปกติ แปรปรวนของธรรมชําติ ตลอดจน วิถีชีวิต หรือกฏระเบียบของสังคม ทั้งช่วงก่อนหน้ํา ระหว่ําง หรือหลังจํากกํารสวรรคตของกษัตริย์ โดยสํามํารถเรียกได้ว่ําเป็น “นิมิต” หรือ “ลํางบอกเหตุ” (รําชบัณฑิตสถําน ๒๕๖๐)
ปรํากฏกํารณ์ดังกล่ําวสะท้อนให้เห็นถึงควํามเชื่อท้องถ่ินที่ผสํานเข้ํากับแนวคิดทําง ศําสนําพทุ ธ(พระสตุ นั ตปฎิ ก๒๕๖๐)และพรําหมณจ์ นเกดิ เปน็ กระบวนกํารตคี วํามจํากปรํากฏกํารณ์ ท่ีเกิดขึ้น ซึ่งกรณีนี้มีแกนเร่ืองอยู่ที่กํารสวรรคตของกษัตริย์ซ่ึงมีฐํานะเป็นผู้นําทํางสังคมท้ังในทําง กํารเมืองและวัฒนธรรม
กํารสวรรคตของกษตั รยิ น์ นั้ ยอ่ มนํา มําซงึ่ ควํามโกลําหลในโลก คอื เหลํา่ อําณําประชํารําษฎร์ เนื่องจํากกษัตริย์มีฐํานะเป็น “สมมติเทพ” หรืออวตํารของ “พระโพธิสัตว์” ที่จุติลงมําเพื่อรักษํา ควํามสงบสุข และควํามเป็นระเบียบแห่งโลก กํารเสด็จจํากไปของพระองค์ย่อมนํามําซึ่งควํามทุกข์ และควํามส่ันคลอนของบ้ํานเมืองที่ไม่ใช่เฉพําะแต่ระเบียบกํารปกครองของอําณําจักร แต่ยังนํามํา ซึ่งควํามวิปริตแปรปรวนของธรรมชําติ และวิถีชีวิตแห่งสรรพสัตว์ท่ีอยู่ใต้พระบํารมีของพระองค์ อีกด้วย ดังนั้น กํารตีควํามเชิงสัญลักษณ์จํากปรํากฏกํารณ์ที่ผิดปกติ ย่อมเป็นเครื่องยืนยันได้ถึง กํารให้ควํามสําคัญของพระมหํากษัตริย์ในฐํานะของผู้รักษําระเบียบแห่งโลกและสวรรค์
ในหนังสือ เมียนม่ามหามีงกลามีงข่านดอ (๑๙๖๘: ๒๑๑) ได้กล่ําวถึง “นิมิต” หรือ “ลําง บอกเหตุ” กํารสวรรคตของพระเจ้ําอลองพญํา ปฐมกัตริย์แห่งรําชวงศ์คองบองไว้ว่ํา “...เมื่อพระเจ้า อลองพญาสวรรคตนั้น ในพระนครมีสายฟ้าฟาด ๑๓ ครั้งในคราวเดียว โพธิ์ออกดอก บนท้องฟ้า แสดงสญั ลกั ษณเ์ สาตะคนู ดาวเคราะหอ์ งั คารเปน็ หมอก ดาวกฤตกิ าอยใู่ กลด้ วงจนั ทร์ มตี ะบองคา รอ้ ง เล่นจากเด็กๆ ว่า ทรงยกทัพไปยังอยุธยาใกล้เวลาเช็ดน้าตา ถอยกลับหลังไปจึงควร...”
ในโกงบ่องแซะก์มหายาซาวีงดอจี เล่ม ๓ (๑๙๖๘: ๔๔๑) ก็ได้กล่ําวถึงนิมิตที่เกิดขึ้นใน ช่วงที่พระเจ้ํามินดง กษัตริย์รัชกําลท่ี ๑๐ แห่งรําชวงศ์คองบองสวรรคต ควํามว่ํา
“...ครั้นเมื่อสวรรคต นกแร้งลงจับยังพระที่นั่งด้านซ้ายในพระบรมมหาราช วัง อาคารกองมหาดเล็กมีนกแร้งลงจับ ผึ้งทารังด้านขวาพระมหาปราสาท แนวเข่ือน ประตูพระนคร กับกาแพงทรุด พระมหาหยั่น มหาโลกมารชินวัดกุโสดอมีเหงื่อออก นอกพระนครดา้ นทศิ ตะวนั ออกมเี สอื เขา้ มาในวดั ธมั มกิ าราม ตลอดเวลาหนง่ึ เดอื นเกดิ เหตุเพลิงไหม้ทั้งภายนอกและภายในพระนครหลายย่านหลายตาบล ไม่เว้นแต่ละวัน
พระเจดีย์ท่ีเมืองสะไกง์และอมรปุระเปล่งแสง ดาวพฤหัสเป็นสีแดง มีไอ หมอกปกคลมุ ทวั่ ไป ดาวพฤหสั และดาวศกุ รเ์ ขา้ ประชดิ ดวงจนั ทร์ แสงอาทติ ยพ์ งุ่ เปน็ ลา ดงั่ เหลก็ แหลม เมฆตง้ั สงู ดงั่ เสาธง มอี กุ กาบาตใหญป่ ระมาณบาตรตกจากทศิ ตะวนั ออกเฉียงใต้ไปสู่ทิศตะวันตกเฉียงเหนือของพระนคร ฟ้าครึ้มคาราม
จะเห็นได้ว่ํา แท้จริงกษัตริย์เป็นผู้ที่ลงมําจุติเพื่อปกครองโลกมนุษย์ชั่วครําวเท่ํานั้น ดังนั้น เมื่อหมดภํารกิจ (หน่ํายมนุษยโลก) พระองค์ก็จะเสด็จกลับไป “ประทับสํารําญยังสวรรค์” ดังน้ัน ควํามตํายจึงไม่ใช่สิ่งที่น่ํากลัวในทัศนะของกษัตริย์แต่อย่ํางใด
นิมิต ลาง กับภาวะโกลาหลของสังคมหลังการสวรรคตของกษัตริย์
๑๙
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ 3๘3
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   383   384   385   386   387