Page 390 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 390

และพระสุกําแล้ว แต่พม่ําจะอัญเชิญพระบรมศพขึ้นประดิษฐํานบนแท่น โดยไม่ถวํายภําชนะมุงบัง ใดๆ นอกจํากผํา้ คลมุ พระบรมศพ สว่ นพระบรมศพจะประดษิ ฐํานไวก้ วี่ นั นนั้ กส็ ดุ แตพ่ ระรําชอธั ยําศยั ของพระเจํา้ แผน่ ดนิ บํางกรณกี ป็ ระดษิ ฐํานไวห้ นง่ึ วนั บํา้ ง หรอื สํามวนั บํา้ งเปน็ อยํา่ งนอ้ ยกอ่ นอญั เชญิ ไปถวํายพระเพลิง
อย่ํางไรก็ดีมีบํางกรณีที่พระบรมศพต้องถูกประดิษฐํานไว้นํานกว่ํา ๓ วันขึ้นไป เพื่อจัด เตรียมสถํานที่บรรจุพระบรมศพให้เรียบร้อย เช่น กรณีงํานพระบรมศพของพระเจ้ํามินดง ที่ต้องรอ กํารก่อสร้ํางคูหําบรรจุพระบรมศพนํานกว่ํา ๑๐ วัน ดังนั้นพระบรมศพจึงถูกอัญเชิญลงประดิษฐําน ในหีบไว้เพื่อรอเวลํา
๓. เครื่องราชูปโภค
เครื่องรําชูปโภคที่อัญเชิญขึ้นต้ังรํายรอบพระแท่นประดิษฐํานพระบรมศพนั้นมี ๑.สั่นดํา (เชือก)๑ ๒.พัดด้ํามยําว ๓.พระเต้ําทองคํา ๔.พระเต้ําเงิน ๕.พระคณโฑทองคํา ๖.พระคณโฑเงิน ๗.กล่องทองสําน ๘.กล่องเงินสําน สําหรับพัดด้ํามยําวนั้นใบพัดหุ้มด้วยผ้ํากํามะหยี่แดง ด้ํามหุ้มผ้ํา กํามะหย่ีแดงประดับทองข้ออ้อย ส่วนสั่นดํา (เชือก) น้ันผูกฟ่อนหญ้ําคําไว้ที่ปลําย
ในหนังสือเมียนม่ามีงกลามีงข่านดอ (๑๙๖๘: ๑๘๔) ได้ให้รํายละเอียดงํานพระบรมศพของ พระเจํา้ ตําลนู มงิ ในกรณเี ดยี วกนั นวี้ ํา่ “...จดั วางพระเขนย ถาดลา้ งพระบาท พระสพุ รรณศรี นา้ เสวย หมอ้ นา้ พระสธุ ารสชา พระมาลาเสา้ สงู พานพระศรี พระแสงหอก กลอ้ งพระโอสถ พระวชิ นี เครอื่ งตน้ ให้จัดโดยรอบ...” เคร่ืองรําชูปโภคเหล่ํานี้มีข้ึนก็เพื่อประกอบพระรําชอิสริยํายศ และบ้ํางก็เป็น เคร่ืองรําชูปโภคที่ทรงใช้ประจําในระหว่ํางทรงพระชนม์อยู่
หํากมองในมิติด้ํานควํามเชื่อสิ่งของเหล่ํานี้ก็คือเครื่องอุทิศให้กับผู้ตํายอันเป็นคติที่สืบมํา ตั้งแต่สมัยบรรพกําล มีกํารฝังเครื่องใช้ลงไปในหลุมศพเพื่อผู้ตํายจะนําไปใช้ในปรโลก แม้ยุคต่อมํา เครื่องรําชูปโภคอันมีค่ําส่วนใหญ่จะไม่ได้ถูกฝังอย่ํางสมัยบรรพกําล แต่เครื่องรําชูปโภคบํางอย่ําง กย็ งั ถกู อทุ ศิ ไปกบั พระบรมศพ หรอื อทุ ศิ ไวใ้ นพระศําสนําดว้ ยรปู แบบตํา่ งๆ เชน่ กํารเผําฉลองพระองค์ แล้วนําข้ีเถ้ําไปทําเป็นพระพุทธรูป หรือถวํายพระท่ีนั่งเป็นบัลลังค์ประดิษฐํานพระพุทธรูป เป็นต้น
๔. หีบพระบรมศพ
พม่ํามีคําศัพท์สําหรับเรียกหีบศพอยู่อย่ํางน้อย ๓ คําท่ีใช้กันโดยมํากได้แก่คําว่ํา “ปญิ่ง” ทแ่ี ปลวํา่ “ไมก้ ระดําน” หรอื “ตะลํา-ปญงิ่ ” ซงึ่ แปลวํา่ “กลอ่ งไมก้ ระดําน” และคํา วํา่ “กําวง-์ ตะลํา” แปลวํา่ “กลอ่ งศพ” สํา หรบั รําชสํา นกั พมํา่ กํา หนดใหท้ ํา ฝําหบี พระบรมศพเปน็ ทรงมณฑปประดบั ลําย ซึ่งพม่ําเรียกว่ํา “อะโพง-เหย่กั่น” ส่วนตัวหีบทําด้วยไม้กระดํานปิดทองคําเปลวท้ังด้ํานนอกด้ํานใน แล้วตกแต่งด้วยผ้ํากํามะหย่ีสีแดง ที่ขอบหีบพระบรมศพจะประดับด้วยทองเปลือกกุ้งเป็นเส้นลวด และลํายหนํา้ กระดํานรปู ดอกจอก มมุ เสน้ ลวดประดบั ลํายใบโพธท์ิ ํา ดว้ ยทองภํายในประดบั ดว้ ยทบั ทมิ ตัวหีบประดับลํายค้ํางคําวทําด้วยทองเปลือกกุ้งประดับทับทิม
๑ ในเอกสําร เชน่ คมั ภรี โ์ ลกพยหุ ะและเมยี นมา่ มหามงิ กลามงี ขา่ นดอ เรยี กวํา่ “สน่ั ดํา” ซง่ึ อวู งี หมํา่ วง์ (ตมั ปําวด)ี นกั วชิ ํากํารดํา้ นโบรําณคดแี ละประวตั ศิ ําสตรศ์ ลิ ปไ์ ดก้ ลํา่ ววํา่ หมํายถงึ เชอื กสํา หรบั คลอ้ งลํากรถบรรทกุ ศพ ปลํายเชอื ก ผูกฟ่อนหญ้ําคํา (สัมภําษณ์ U Win Maung วันที่ ๑๘ มกรําคม ๒๕๖๐ เวลํา ๑๐.๓๕ น.)
เสด็จสู่แดนสรวง
3๘๘ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   388   389   390   391   392