Page 399 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 399
รปู หนงึ่ แลว้ ทํา กํารถวํายพระเพลงิ “...เมอื่ ถวายพระเพลงิ แลว้ อญั เชญิ พระบรมอฐั ใิ สห่ มอ้ ทองลงฝงั ยังที่อันหมดจด...” (หม่านนาน ๑๙๙๓: ๒๕๘) อีกกรณีคือพระบรมศพของพระเจ้ํานันทบุเรง พระรําชโอรสในพระเจ้ําบุเรงนองก็เป็นอีกตัวอย่ํางหนึ่งของกํารจัดกํารพระบรมศพในฐํานะกษัตริย์ ไร้บัลลังก์ แล้วถูกลอบปลงพระชนม์ในภํายหลัง ควํามว่ํา
“...งานพระบรมศพพระเจ้านันทบุเรง ปี ๙๖๒ ข้ามเข้าวันเพ็ญเดือนตะซาวง์ โมง เม่ือนัตชินหน่าวง์ได้ลอบปลงพระชนม์พระเจ้านันทบุเรงแล้ว พระเจ้าตองอูทรง ทราบว่าพระเชษฐาถูกปลงพระชนม์ ก็ทรงไม่สบายพระทัย คิดจะทาการพระบรมศพ พระเชษฐาให้สมพระเกียรติ แล้วทรงปรึกษากับราชบัณฑิต ราชบัณฑิตทูลว่า การสวรรคตอย่างปัจจุบันทันด่วนนั้นไม่มีธรรมเนียมการจัดถวายพระเพลิงพระบรม ศพให้เอิกเกริก ควรฝังพระบรมศพ ณ ท่ีถูกปลงพระชนม์นั้นจึงควร แล้วจึงอัญเชิญ พระบรมศพมาไล้ทาด้วยน้ามันจันท์ แล้วห่อพระบรมศพด้วยผ้าฝ้ายหลายช้ันแล้ว อัญเชิญลงฝ่ังอย่างดีกับหีบพระบรมศพ ใต้พื้นดินที่ทรงสวรรคต เมื่อถึงครบสัตมวาร ก็นิมนต์พระสงฆ์มาฉันในท่ีนั้น แล้วถวายบริขารมีผ้าจีวรอุทิศพระราชกุศลเป็น อันมาก...” (หม่านนาน ๑๙๙๓: ๑๐๙)
จํากตวั อยํา่ งในสองกรณขี ํา้ งตน้ จะเหน็ วํา่ รําชสํา นกั พมํา่ มธี รรมเนยี มกํารจดั กํารพระบรมศพ ในภําวะท่ีไม่ปกติ ทั้งสองกรณีเป็นกํารสวรรคตแบบผิดธรรมชําติที่เรียกในภําษําชําวบ้ํานว่ํา “ตํายโหง” ซึ่งในหนังสือเมียนม่ามหามีงกลามีงข่านดอ (๑๙๖๘: ๑๘๑) ได้อ้ํางถึงคัมภีร์โลกสังเกต ซงึ่ เปน็ เอกสํารทกี่ ลํา่ วถงึ แบบแผน และธรรมเนยี มกํารจดั กํารศพทสี่ งั คมพมํา่ ยดึ ถอื วํา่ “...ผตู้ ายโหงนน้ั , มิให้อาบน้า, ไม่ให้จัดงานศพ, ตายที่ไหนให้จัดการที่นั่น, มิให้นามาจากที่ตายย้ายเข้าบ้านเข้าเมือง, มิให้ไว้บนบ้าน, ให้แจ้งแล้วเผาในที่ตายนั้น...” ดังนั้น พระบรมศพของกษัตริย์ผู้เครําะห์ร้ําย ในสองกรณจี งึ ตอ้ งถกู จดั กํารไปตํามธรรมเนยี มทส่ี งั คมยดึ ถอื ดว้ ย มฉิ ะนน้ั จะเกดิ ภยั พบิ ตั ิ หรอื โรคภยั มําสู่ชุมชน
กรณขี องพระอคั รมเหสแี ละพระเจํา้ มนิ ดง เปน็ ตวั อยํา่ งในกํารจดั กํารพระบรมศพทแี่ ตกตํา่ ง ไปจํากธรรมเนียมเดิมที่เคยมี ด้วยกํารเก็บพระบรมศพไว้เป็นอนุสรณ์และท่ีบูชําในพระสถูป ทรงปรําสําท เรมิ่ จํากพระอคั รมเหสซี ะ่ จําเทวซี งึ่ เปน็ ทสี่ นทิ เสนห่ ําของพระเจํา้ มนิ ดงยงิ่ ถงึ แกส่ วรรคต พระองคจ์ งึ ทรงสรํา้ งพระสถปู ทรงปรําสําทไวใ้ นพระรําชอทุ ยํานดํา้ นทศิ เหนอื ของพระบรมมหํารําชวงั แล้วอัญเชิญพระบรมศพเข้ําประดิษฐํานเข้ําไว้เป็นอนุสรณ์ ในหนังสือ โกงบ่องแซะมหายาซาวีง เล่ม ๓ (๑๙๖๘: ๔๒๖-๔๒๗) กล่ําวถึงกํารจัดกํารพระบรมศพของพระอัครมเหสีว่ํา “ถวายสายไข่มุก ทนี่ วิ้ พระหตั ถแ์ ละนวิ้ พระบาทแลว้ ถวายสวมพระพกั ต์ ถวายพระธา มรงค์ และพระกา ไลขอ้ พระบาท... เชญิ เครื่องประดบั มหาลัดดาใสถ่ วายมิให้ลมพัดเข้าต้องพระวรกายได้แล้ว ก็อญั เชญิ พระบรมศพเข้า ประดิษฐานบนพระแท่นอันประดับตกแต่งทั้งซ้ายขวาด้วยเคร่ืองราชูปโภคท้ังหลาย[วันรุ่งขึ้น:ผู้ แปล]...อญั เชญิ พระบรมศพลงหบี แลว้ ปดิ คลุ มดว้ ยผา้ ไหมปกั ดนิ้ เงนิ ดน้ิ ทองเหนอื หบี พระบรมศพ...”
จํากนนั้ กก็ ลํา่ วถงึ กํารบรรจพุ ระบรมศพในพระสถปู วํา่ “บรรดาเจา้ ชายอญั เชญิ หบี พระบรมศพ ซึ่งอยู่ในคานหามเปลเข้ามาในพระสถูปทางประตูด้านทิศตะวันตกแล้วก็อัญเชิญไว้บนพระแท่น
๑๙
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ 3๙๗
เสด็จสู่แดนสรวง