Page 59 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
P. 59

52



                   แมวาบางครั้งจะมีปญหาปริมาณการผลิตไมเพียงพอก็พยายามจัดการแกไขปญหา เพื่อไมใหผิดสัญญา

                   และเสียเครดิต โดยกอนหนาที่จะมีวิกฤตเศรษฐกิจ ทางกลุมฯ ไดขายสินคาใหกับบริษัทผูสงออกโดยตรง

                  มาโดยตลอด ดวยการเสนอสินคาตัวอยางใหกับผูสงออกและคัดเลือกผูสงออกที่เสนอตัวมา ขณะนี้แมวา

                  จะไมไดคาขายกับผูคาสงออก ก็ขายใหกับบริษัทผูคารายใหญของภาคใต

                         จากโรงงานยางแปรรูปสูการผลิตเพื่อการพึ่งตนเอง

                         การดําเนินการตางๆ ของกลุมเกษตรกรชาวสวนยางไมเรียงตั้งแต ป 2527 ไมใชสูตรสําเร็จ แต

                  เกิดขึ้นจากกระบวนการเรียนรูของชาวชุมชนไมเรียงเอง ที่มีจิตใจมุงการเรียนรูอยางไมรูจบเพื่อสรุป

                  บทเรียนและแกปญหาที่เกิดขึ้นพรอมทั้งเตรียมรับมือตอปญหาใหมๆ ลองผิดลองถูกเพื่อหาขอสรุป

                  รวมกัน ประกอบกับการมีผูนําซื่อสัตยสุจริต รับผิดชอบตอสวนรวม ทําใหกลุมฯ สามารถดําเนินธุรกิจ

                  อยางตอเนื่องมาถึง 16 ป (พ.ศ.2527-2543)  อยางไรก็ตามแมวาทางกลุมเกษตรกรชาวสวนยางไมเรียงจะ

                  สามารถ แกปญหาดานคุณภาพยาง การขาย และการลดตนทุนการผลิต แตปญหาอื่นๆ ที่นอกเหนือจาก

                  ความสามารถในการจัดการภายในยังมีอยูไมสิ้นสุด เชน ปญหาความตองการของตลาดโลก ปญหา


                  คุณภาพและปริมาณน้ํายาง ที่ขึ้นอยูกับดินฟาอากาศ หรือปญหาดานนโยบายของรัฐ เปนตน จากการ
                  พูดคุยปรึกษาหารือกันอยางสม่ําเสมอ พวกเขาจึงไดคําตอบใหมวา ยางพาราไมสามารถเปนคําตอบเดียว


                  สําหรับการดํารงชีวิต
                         ประกอบกับขอจํากัดของการดําเนินการธุรกิจเฉพาะสมาชิกของกลุมเกษตร ที่ยังไมสามารถขยาย


                  สมาชิกเพิ่มเติมไดเนื่องจาก กําลังรับซื้อยังมีไมเพียงพอ แตสิ่งสําคัญที่สุด คือ ความสุข ความอยูดีกินดี
                   และความสามารถในการพึ่งตนเองของชาวชุมชนไมเรียง  “ศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชนไมเรียง”  จึงเกิด


                  ขึ้นมา เพื่อเปนเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรูของชาวชุมชนไมเรียง ในดานตางๆ ไดแก ดานการศึกษา
                  ดานเกษตรกรรมยั่งยืนและสิ่งแวดลอม ดานสาธารณสุขชุมชน ดานธุรกิจและอุตสาหกรรมชุมชน และ


                  ดานกองทุนชุมชน ทั้งนี้ มี "สภาผูนําชุมชนไมเรียง" ที่มาจากตัวแทนของหมูบานตางๆ หมูบานละ 5 คน

                   รวมเปน 40 คน ประกอบดวย ทั้งหญิงและชาย และคนรุนหนุมสาว รุนผูใหญวัยกลางคน และรุนอาวุโส

                   ทําหนาที่บริหารและรวมกันจัดทําแผนพัฒนาชุมชนขึ้น

                         โดยกิจกรรมหนึ่งของแผนพัฒนาชุมชนไมเรียงที่เปนการเปลี่ยนทิศทาง ของเกษตรกรรมแผนใหม

                  ที่มุงเนนการปลูกพืชเชิงเดี่ยว และฝากชีวิตไวกับยางพารา มาเปนการแสวงหาความหลากหลายของ

                  การประกอบอาชีพการเกษตร และมุงเนนการพึ่งตนเองไดภายในชุมชนเปนหลัก คือ การพัฒนา

                  ความสามารถของเกษตรกรและเสริมสรางเศรษฐกิจชุมชน ประกอบดวย กิจกรรมการเกษตร 8 กิจกรรม

                   ไดแก กลุมเพาะเลี้ยงปลา กลุมผักปลอดสารพิษ กลุมแปรรูปขาว กลุมเพาะเลี้ยงไกพื้นเมือง กลุมผลิต

                  อาหารสัตว กลุมเพาะเลี้ยงสุกร กลุมสมุนไพร และกลุมเพาะเลี้ยงเห็ด
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64