Page 62 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
P. 62

55



                  บมเพาะความสัมพันธ ความศรัทธา และความไวเนื้อเชื่อใจ ตลอดจนการสรางกรอบทางความคิด เพื่อให

                  เกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร การแกไขปญหารวมกันอยางสรางสรรค รวมทั้งการดําเนินการรวมกัน
                  ระหวางองคกร



                  การสรางเครือขายการเรียนรูของชุมชนอยางเปนระบบ
                          (1) สนับสนุนการถายทอดและแลกเปลี่ยนประสบการณการเรียนรูระหวางคนในชุมชน

                  เดียวกันและระหวางองคกรชุมชนดวยกันในทุกรูปแบบโดยเนนการใชประโยชนจากภูมิปญญาทองถิ่น

                  หรือปราชญชาวบานที่มีอยู และมีการรับรองวิทยฐานะของการเรียนรู ดังกลาว
                          (2)   สงเสริมการดําเนินงานในลักษณะวิทยาลัยประชาคม ที่ทําหนาที่จัดการศึกษาและฝกอาชีพ

                  แกประชาชนและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานในชุมชนในรูปแบบที่หลากหลายตามความสนใจและความถนัด

                  โดยไมจํากัดพื้นฐานความรู
                          (3)   สงเสริมใหองคกรทางสังคมทุกฝาย เชน สถาบันครอบครัว สถาบันทางศาสนา สื่อมวลชน

                   สถาบันการศึกษาทั้งสวนกลางและภูมิภาค ฯลฯ เขามามีสวนรวมในการสรางเครือขายการเรียนรูของ
                  ชุมชน โดยเฉพาะอยางยิ่งบทบาทของบาน วัด โรงเรียน



                  การสรางเครือขายการประกอบอาชีพและการดําเนินชีวิต  ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                         พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดพระราชทานพระราชดําริเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง  และทรง

                  ยึดมั่นหลักการนี้มาโดยตลอด  แตนโยบายเกี่ยวกับเกษตรที่ผานมาของรัฐบาลเนนการ ผลิตสินคา

                  เพื่อสงออกเปนเชิงพาณิชย  คือ  เมื่อปลูกขาวก็นําไปขาย  และก็นําเงินไปซื้อขาว  เมื่อเงินหมดก็จะไปกู

                   เปนอยางนี้มาโดยตลอดจนชาวนาไทยตกอยูในภาวะหนี้สิน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงตระหนัก

                  ถึงปญหาดานนี้  จึงไดพระราชทานพระราชดําริใหจัดตั้งธนาคารขาว ธนาคารโค-กระบือ เพื่อชวยเหลือ

                  ราษฎร  นับเปนจุดเริ่มตนแหงที่มาของ “เศรษฐกิจพอเพียง”  นับตั้งแตอดีตกาล แมกระทั่งโครงการแรก ๆ

                  แถวจังหวัดเพชรบุรี  ก็ทรงกําชับหนวยราชการมิใหนําเครื่องกลหนักเขาไปทํางาน รับสั่งวาหากนําเขาไป

                  เร็วนัก ชาวบานจะละทิ้งจอบ เสียม และในอนาคตจะชวยตัวเองไมได  ซึ่งก็เปนจริงในปจจุบัน

                         จากนั้นไดทรงคิดคนวิธีการที่จะชวยเหลือราษฎรดานการเกษตร  จึงไดทรงคิด“ทฤษฎีใหม”

                  ขึ้นเมื่อป 2535  ณ  โครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณวัดมงคลชัยพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริจังหวัด

                  สระบุรี  เพื่อเปนตัวอยางสําหรับการทําการเกษตรใหแกราษฎร  ในการจัดการดานที่ดินและแหลงน้ําใน

                  ลักษณะ 30 : 30 : 30 : 10   คือ ขุดสระและเลี้ยงปลา 30  ปลูกขาว  30  ปลูกพืชไรพืชสวน  30  และ

                  สําหรับ

                  เปนที่อยูอาศัย ปลูกพืชสวนและเลี้ยงสัตวใน  10  สุดทาย

                         ตอมาไดพระราชทานพระราชดําริเพิ่มเติมมาโดยตลอด เพื่อใหเกษตรกร ซึ่งเปนคนสวนใหญ
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67