Page 65 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
P. 65

58




                  ดําเนินชีวิตทั้งในประเทศและตางประเทศแลวมากมาย ซึ่งเราจําเปนที่จะตองเขาไปศึกษาหาวา ในแตละ
                  พื้นที่ไดมีผูนําเอาปรัชญานี้ไปใชอยางไรบาง โดยเฉพาะอยางยิ่งที่นําไปใชแลวประสบความสําเร็จ



                  การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา

                         ในการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการศึกษานั้น จะตองมุงพัฒนาที่ตัวครูกอน

                  เปนอันดับแรก เพราะครูถือวาเปนทรัพยากรที่สําคัญในการถายทอดความรู และปลูกฝงสิ่งตางๆ ใหแกเด็ก

                   ดังนั้นจึงควรสงเสริมครูใหมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงอยางถองแทกอน เพราะ

                  เมื่อครูเขาใจ ครูก็จะไดเปนแบบอยางที่ดีใหแกเด็กได ครูจะสอนใหเด็กรูจักพอ ครูจะตองรูจักพอกอน

                  โดยอยูอยางพอเพียงและเรียนรูไปพรอมๆ กับเด็ก โดยเฉพาะอยางยิ่ง ตองมีสติในการเลือกรับขอมูลตางๆ

                  ที่เขามา รูจักเลือกรับและรูจักตอยอดองคความรูที่มีอยู หมั่นศึกษา เพิ่มพูนความรู อยางเปนขั้นเปนตอน

                  ไมกาวกระโดด ในการเลือกรับขอมูลนั้น ตองรูจักพิจารณารับอยางเปนขั้นเปนตอน รูจักแกไขปญหา

                  อยางเปนขั้นเปนตอน ประเมินความรูและสถานการณอยูตลอดเวลา   จะไดรูจักและเตรียมพรอมที่จะ

                  รับมือกับสภาพ และผลจากการเปลี่ยนแปลงในมติตางๆไดอยางรอบคอบและระมัดระวัง

                          เปาหมายสําคัญของการขับเคลื่อน คือ การทําใหเด็กรูจักความพอเพียง ปลูกฝง อบรม บมเพาะ

                  ใหเด็กมีความสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรม โดยสอดแทรกแนวคิดปรัชญาของ

                  เศรษฐกิจพอเพียงใหเขาเปนสวนหนึ่งของหลักสูตร สาระเรียนรูตางๆเพื่อสอนใหเด็กรูจักการใชชีวิตได

                  อยางสมดุล ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เห็นคุณคาของทรัพยากรตางๆ รูจักอยูรวมกับผูอื่น รูจัก

                  เอื้อเฟอเผื่อแผและแบงปน มีจิตสํานึกรักษสิ่งแวดลอม และเห็นคุณคาของวัฒนธรรมคานิยม ความเปนไทย

                   ทามกลางการเปลี่ยนแปลงตางๆ รูวาตนเองเปนองคประกอบหนึ่งในสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมของโลก

                   การกระทําของตนยอมมีผลและเชื่อมโยงกับสภาพแวดลอมในโลกที่ตนเองเปนสมาชิกอยูดวย ซึ่งการจะ

                  บรรลุเปาหมายดังกลาวขางตน สําคัญคือครูจะตองรูจักบูรณาการการเรียนการสอนใหเด็กและเยาวชน

                  เห็นถึงความเชื่อมโยงในมิติตางๆ ทั้งดานสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม สังคม และเศรษฐกิจ ซึ่งความเปนองค

                  รวมนี้จะเกิดขึ้นได ครูตองโดยใชความรูและคุณธรรมเปนปจจัยในการขับเคลื่อน

                          นอกจากนี้ ในการสงเสริมใหนําหลักปรัชญาฯไปใชในสถานศึกษาตางๆ นั้น อาจจะใชวิธี

                  “เขาใจ เขาถึง และพัฒนา” ตามหลักการของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัววา สําคัญที่สุดครูตองเขาใจ

                  เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกอน โดยเขาใจวาแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนั้น

                  เปนแนวคิดที่สามารถเริ่มตน และปลูกฝงไดผานการทํากิจกรรมตางๆ ในโรงเรียน เชน กิจกรรมการรักษา

                  สิ่งแวดลอมในโรงเรียนการกําจัดขยะในโรงเรียนการสํารวจทรัพยากรของชุมชนฯลฯ

                          กอนอื่น ครูตองเขาใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ทําตัวเปนแบบอยางที่ดี โดยกลับมาพิจารณาและ
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70