Page 67 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
P. 67

60



                         การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษาในระยะแรก ไดเริ่มจากการไปคนหากิจกรรม

                  พัฒนาผูเรียนที่มีคุณลักษณะ และการจัดการที่สอดคลองกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือพอประมาณกับ

                  ศักยภาพของนักเรียน พอประมาณกับภูมิสังคมของโรงเรียนและชุมชนที่ตั้ง เชน เด็กชวงชั้นที่ 2

                  ทําสหกรณได เด็กชวงชั้นที่ 4 ดูแลสิ่งแวดลอม มีการสงเสริมใหใชความรูอยางรอบคอบระมัดระวัง ฝกให

                  เด็กคิดเปนทําเปนอยางมีเหตุผล และมีภูมิคุมกันสงเสริมใหเด็กทํางานรวมกับผูอื่น มีความซื่อสัตย สุจริต

                   รับผิดชอบ ไมเอารัดเอาเปรียบผูอื่น มีวินัย มีสัมมาคารวะ ปลูกฝงจิตสํานึกรักษสิ่งแวดลอม สืบสาน

                  วัฒนธรรมไทย กลาวคือ สอนใหผูเรียน ยึดมั่นในหลักศีลธรรม พัฒนาคนใหเขารูจักทําประโยชนใหกับ

                  สังคมและชวยดูแลรักษาสิ่งแวดลอม และตัวกิจกรรมเองก็ตองยั่งยืน โดยมีภูมิคุมกันในดานตาง ๆ ถึงจะ

                  เปลี่ยนผูอํานวยการแตกิจกรรมก็ยังดําเนินอยูอยางนี้เรียกวามีภูมิคุมกัน

                          การคนหาตัวอยางกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ก็เพื่อใหมีตัวอยางรูปธรรม ในการสรางความเขาใจ

                  ภายในวงการศึกษาวาหลักเศรษฐกิจพอเพียงหมายความวาอยางไร และสามารถนําไปใชในกิจกรรม

                  พัฒนาผูเรียนไดอยางไรบาง หลังจากนั้น ก็สงเสริมใหบูรณาการการเรียนรูผานกิจกรรมเหลานี้ เขาไปใน


                  การเรียนรูสาระตาง ๆ บูรณาการเขากับทุกสาระเรียนรู เชน วิทยาศาสตร เพื่อทําใหเกิดสมดุลทาง
                  สิ่งแวดลอม บูรณาการเขากับวิชาคณิตศาสตร ในการสอนการคํานวณที่มีความหมายในการดํารงชีวิต


                  อยางพอเพียง หรือบูรณาการเขากับสาระภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สุขศึกษา พลศึกษา การงานอาชีพ
                   เทคโนโลยีตาง ๆ ไดหมด นอกเหนือจากการสอนในสาระหลัก คือ ในกลุมสาระสังคมศึกษา ศาสนา


                  วัฒนธรรมเทานั้น
                             สําหรับมาตรฐานการเรียนรู มีวัตถุประสงคใหทุกชวงชั้น เขาใจหลักเศรษฐกิจพอเพียงและ


                  สามารถประยุกตใชได แตถามาตรฐานเรียนรูของทุกชวงชั้นเหมือนกันหมดก็จะมีปญหาทางปฏิบัติ จึง
                  ตองกําหนดขอบเขตที่ชัดเจนในการเรียนการสอนของแตละชวงชั้น และแตละชั้นป ดังนี้


                           ชวงชั้นที่ 1 เนนใหเด็กพึ่งตนเองได หรือใชชีวิตพอเพียงระดับบุคคลและครอบครัว เชน ประถม1

                  ชวยเหลือคุณพอคุณแมลางจานชาม เก็บขยะไปทิ้ง กวาดบาน จัดหนังสือไปเรียนเอง แบงปนสิ่งของให

                  เพื่อน กินอาหารใหหมดจาน  ประถม 2 วิเคราะหรายจายของครอบครัว จะมีตารางกรอกคาใชจายตางๆ

                  ของครอบครัว คุณแมซื้ออะไรบาง  คุณพอซื้ออะไรบาง เด็กจะไดรูพอแมหาเงินมายากแคไหน เชน ยาสีฟนหลอดละ

                  46 บาท จะตองไมเอามาบีบเลน จะตองสอนใหเด็กเห็นคุณคาของสิ่งของ ใหเด็กตระหนักถึงคุณคาของ

                  เงินทอง จะไดฝกนิสัยประหยัด ครอบครัวมีรายไดและรายจายเทาไร เด็กจะไดฝกจิตสํานึกและนิสัย

                  พอเพียง มีหลายโรงเรียนทําแลว ประถม 3 สอนใหรูจักชวยเหลือครอบครัวอยางพอเพียงและรูจักแบงปน

                  ชวยเหลือผูอื่น มีสวนรวมสรางครอบครัวพอเพียง

                         ชวงชั้นที่ 2 ฝกใหเด็กรูจักประยุกตใชหลักความพอเพียงในโรงเรียน สามารถวิเคราะห วางแผน
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72