Page 6 - วรรณกรรมมัธยม
P. 6

มากมายเป็นที่เคารพรักของลูกศิษย์  และคนในชุมชนโดยเฉพาะความสามารถด้านลูกเสือที่ท่านสามารถ
                  เป็นต้นแบบให้กับครูรุ่นหลัง  และลูกเสือชาวบ้านจังหวัดปทุมธานีได้เป็นอย่างดี  สิ่งที่ท่านภูมิใจมากที่สุด

                  คือ การได้รับพระราชทานเหรียญลูกเสือสดุดีชั้นที่ 1 จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9
                                 ท่านเกษียณราชการในขณะด ารงต าแหน่งผู้ช่วยผู้อ านวยการโรงเรียนธัญบุรี

                  เมื่อปีพุทธศักราช 2539 ท่านได้รับรางวัลเสมาทองค าประเภทผู้บริหารดีเด่นจากครุสภาปทุมธานี ปัจจุบัน
                  ท่านเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ  เป็นปราชญ์ชาวบ้านให้กับคนรุ่นหลังรุ่นสู่รุ่น  นักเรียนอยากรู้เรื่องอะไรก็ยกมือถาม

                  ได้เลยนะลูกท่านเป็นผู้ใหญ่ใจดีค่ะ”
                                ขณะที่ครูวารีก าลังเล่าถึงประวัติท่านให้พวกเราฟังอยู่  ท่านก็ก้าวเข้ามาในห้อง  พวกเรา
                  ก็กล่าวท าความเคารพ  ท่านเป็นผู้ใหญ่ใจดีอย่างที่ครูวารีว่า  สูงใหญ่ผิวสีด าแดงเล่าเรื่องได้สนุกสนาน

                  พวกเราทุกคนฟังแล้วเกิดความเพลินเพลินไม่รู้เลยว่าเวลาผ่านไปเท่าไหร่  ท่านมีความรู้มากมายตลอดเวลา
                  ที่เล่าท่านไม่ต้องดูต าราเลย  ท่านสอนให้เราเกิดความคิดที่ว่าถ้าเราตั้งใจหรือสนใจในการฟังแล้วจะสามารถ

                  จดจ าทุกอย่างได้เป็นอย่างดี  ท่านเล่าว่าการขุดคลองรังสิตนั้นมีที่มามากมายแต่ให้เราจ าพอสังเขปดังนี้
                  “ทุ่งหลวง” อันหมายถึงท้องทุ่งที่กว้างใหญ่บนฝั่งตะวันออก ของแม่น้ าเจ้าพระยาบริเวณทางตอนใต้ของ

                  อยุธยาลงมาจนจรดกรุงเทพฯ  มีแม่น้ าเจ้าพระยาและแม่น้ านครนายกเป็นแนวขนาบซ้ายขวา แม่น้ า
                  บางประกง  เป็นเขตที่ขึ้นกับกรุงเทพมหานคร  สภาพเดิมเป็นป่าละเมาะพงหญ้า รกร้างยังไม่มีแม่น้ า

                  ล าคลอง  มีเพียงหนอง  บึง  กุ้งปลาอุดมสมบูรณ์  และถูกทิ้งร้างว่างเปล่า ทุ่งหลวงในสมัยก่อนจึงมีสัตว์ป่า
                  นานาชนิดชุกชุม  ทั้งสัตว์ป่าที่อาศัยประจ าได้แก่  เนื้อสมันและเนื้อทราย  ยังมีสัตว์ป่าที่ลงมาจากเขาใหญ่
                  ในเขตจังหวัดสระบุรี และนครนายกมาหากิน  เช่นช้าง  กระทิง  เก้ง  กวาง  เป็นต้น  เล่ามาถึงตอนนี้เสียง

                  สหรัฐ  อุทานขึ้น “อ๋อๆๆๆ รู้แล้ว” ทุกคนหันหน้ามามองสหรัฐ  ครูท่านจึงถามว่า “อะไรหรือ” โอ๊ตบอก
                  “ผมเห็นรูปปั้น เนื้อกวาง  และสมัน  ที่ริมคลองรังสิตนึกสงสัยว่าท าไมจึงเป็นสัตว์พวกนี้ ตอนนี้หายสงสัย

                  แล้วครับ” นักเรียนเลยคุยกันใหญ่ว่าใครเคยเห็น ไม่เคยเห็น ตั้งอยู่ไหน ครูท่านจึงเล่าต่อว่า “ทุ่งหลวงรังสิต
                  ก าเนิด และพัฒนามาจากทุ่งหลวง ซึ่งเป็นที่กว้าง ใหญ่ไพศาลเป็นที่ราบลุ่มต่ ามากมีปัญหาการระบายน้ าที่

                  ไม่สะดวกท าให้ไม่เหมาะสมที่จะเป็นที่ท ามาหากิน ได้มีการพัฒนามากว่า 100 ปี จนกลางรัชสมัยของ
                  พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงมีพระราชด ารัสกับพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้า

                  สายสนิทวงศ์ ว่า “ในพระราชอาณาเขตนี้คลองเป็นสิ่งส าคัญในปีหนึ่งควรให้ได้มีคลองขึ้นสายหนึ่งจะท าให้
                  บ้านเมืองเจริญ  ถึงจะออกพระราชทรัพย์ปีละพันช่างหรือสองพันช่างก็ไม่ทรงเสียดาย”  การขุดคลองรังสิต
                  จึงได้ถูกริเริ่มขึ้นโดยในปี พุทธศักราช 2433  พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์  ได้ทรงคิดที่จะขุดคลองได้น าความ

                  ขึ้นกราบบังคมทูลขอพระบรมราชานุญาตขุดคลองในพระราชอาณาเขตในนามของ  “บริษัทขุดคลอง
                  แลคูนาสยาม”  มีนายคิมแกรซี่  เป็นผู้จัดการบริษัท โดยมีวัตถุประสงค์ในการขุดคลอง  คือ

                                        1.  เพื่อเปิดพื้นที่รกร้างว่างเปล่าในทุ่งหลวงให้เป็นแหล่งเพาะปลูกท านา  เช่นเดียวกับ
                  ท้องทุ่งแสนแสบซึ่งอยู่ใกล้เคียงชานเมืองมีนบุรีที่เรียกขานกันว่าเมืองปลา และเรียกเมืองธัญบุรีว่า
                  “เมืองข้าว”

                                2.  เพื่อประโยชน์ในด้านคมนาคม  ค้าขายในบริเวณนั้น  รวมถึงการน าพืชผลทางการ
                  เกษตรออกสู่ตลาดภายนอก  โดยขุดเป็นคลองซอยต่างๆ  โดยทางบริษัทได้รับผลประโยชน์จากการเอาดิน

                  ที่ขุดไปขาย จึงอาจกล่าวได้ว่า ทุ่งรังสิต เป็นอาณาบริเวณแห่งแรกของประเทศไทยที่เป็นต้นก าเนิด






                                                             6
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11