Page 7 - วรรณกรรมมัธยม
P. 7
การท าธุรกิจที่ดินจัดสรรของประเทศไทย บริเวณที่ขุดคลองนั้นเป็นท้องทุ่งกว้างใหญ่ไพศาลมีสภาพเป็น
ป่าเขียวครึ้ม และหนองบึงต่างๆ ที่เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ ภาพของทุ่งหลวงในอดีตอาจพิจารณาได้จาก
ชื่อสถานที่ท้องถิ่นปัจจุบัน เช่น หนองเสือ ต าบลท่าโขลง ต าบลบึงน้ ารักษ์ ต าบลบึงค าพร้อย
ต าบลบึงจระเข้ เป็นต้น ปรานีอดถามต่อไม่ได้เพราะสงสัยจึงยกมือขึ้นถามว่า “คลองรังสิตใช่คลองเดียวกับ
คลองรังสิตประยูรศักดิ์ไหมคะ และท าไมถึงใช้ชื่อนี้คะ ครูท่านหัวเราะชอบใจว่า “แหมเกือบลืม นี่เป็น
เรื่องที่เราทุกคนต้องรู้เชียวว่าเป็นคลองเดียวกัน คลอง “รังสิตประยูรศักดิ์” เป็นนามพระราชทานจาก
รัชกาลที่ 5 เพื่อเป็นเกียรติแก่พระเจ้าลูกยาเธอพระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ พระโอรสในเจ้าจอมมารดา
เนื่อง สนิทวงศ์ ซึ่งเป็นธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ ถือเป็นสายสัมพันธ์ระหว่าง
รัชกาลที่ 5 และพระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ ผู้ก่อตั้งบริษัทขุดคลองแลคูนาสยามนั่นเอง
เล่ามาถึงตอนนี้ท่านยังเล่าต่อไปถึงผู้คนที่มีชาติพันธุ์ที่หลากหลาย มาตั้งถิ่นฐานบ้านเรือน
นอกจากคนไทย คนจีน คนมอญ คนมุสลิม คนญวน และคนคริสเตียน” ครูท่านถามพวกเราว่า “นักเรียน
พอจะรู้ไหมว่า เมืองรังสิตเรา นอกจากคนไทยแล้วมีคนเชื้อชาติใดมากเป็นที่สองรองลงมาจากคนไทย”
ยังไม่ทันสิ้นค าถามก็ได้ยินเสียงตอบว่า “ชาวจีน” ทุกคนแทบจะตอบเป็นเสียงเดียวกันเลย ครูท่านหัวเราะ
ชอบ ใจให ญ่ ที่เราตอบ ถูกและแย่งกัน ตอบ แสดงถึงความสน ใจเรื่องราวที่ ท่านเล่า
ครูท่านจึงตอบว่า “ถูกต้องแล้วจากประวัติศาสตร์คนจีนเป็นชาติที่เข้ามาท ามาหากินในประเทศไทยใน
ระยะแรกมาอาศัยอยู่ริมน้ าตามปากคลองต่างๆ เพื่อท ามาค้าขาย ได้สร้างศาลเจ้าและน าเทพเจ้าที่ตนเอง
นับถือ มาตั้งไว้กราบไหว้บูชาขอพรให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ดังกล่าวคุ้มครองให้การค้าขายเจริญรุ่งเรืองในย่านรังสิต
นักเรียนจะเห็นศาลเจ้าเกิดขึ้นมากไหม ไหนบ้านใครอยู่ใกล้ศาลเจ้าบ้างยกมือขึ้นสิลูก” ครูท่านถามเพื่อให้
พวกเราได้มีส่วนร่วม “ผมครับ” ปิติรีบยกมือพร้อมตอบเสียงดังจนเรียกเสียงหัวเราะของเพื่อนในห้องเรียน
เพ ราะทุ กค น ท ราบ กั น ดี ว่าครอบ ค รัวขอ งปิ ติ เป็ น ช าวจี น อ ยู่ ริม ค ล อ งห นึ่ งนั่ น เอ ง
ครูท่านจึงให้ปิติเป็นคนตอบค าถามเป็นคนแรก “บ้านผมอยู่ติดกับ ศาลเจ้าพ่อเห้งเจีย (ไต่เซี่ยฮุกโจ้ว)
ครับ” ครูท่านเสริมปิติว่า นักเรียนคนไหนยังไม่เคยไปให้ลองไปแวะเที่ยวไหว้ศาลเจ้านี้เพราะอยู่ใกล้แค่
ปากคลองหนึ่ง เลียบคลองรังสิต ต.ประชาธิปัตย์ อ. ธัญบุรี จ.ปทุมธานี สร้างด้วยเทคนิคการก่ออิฐถือปูน
เขียนภาพตกแต่งงดงามทั้งภายในและนอกอาคาร จิตรกรรมภาพส าคัญเป็นภาพเทพทวารบาลเป็นเทพ
ที่รักษาประตู เขียนขึ้นบนบานประตูด้านนอก สวมเครื่องแต่งกายเป็นนักรบจีน มีศิลปะแบบจีนสวยสด
งดงามประดับตกแต่งบนผนังอาคาร นอกจากนี้ศาลเจ้าพ่อไต่ฮงกง ศาลเจ้าพ่อเจ้าแม่ คลองรังสิตปูเถ้ากง
และศาลเจ้าอีกมากมายที่นักเรียนเห็น และให้นักเรียนทราบว่าเราคนไทยสามารถอยู่ร่วมกัน และมี
วัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกันในแต่ละชุมชนนอกจากพื้นที่จะอุดมสมบูรณ์แล้วยังเต็มไปด้วยศิลปวัฒนธรรม
มากมายจากคนที่ต่างชาติพันธุ์ ที่เราสามารถพบเห็นมากที่สุดก็เป็นประเพณีและวัฒนธรรมของชาวมอญ
และชาวจีนเป็นส่วนใหญ่ ที่พวกเราต้องศึกษาเรียนรู้และสืบทอดอนุรักษ์สู่คนรุ่นหลัง
มาถึงตอนนี้แล้วพวกเรารู้สึกว่าวันนี้เป็นอีกวันที่เราได้รู้เรื่องราวของเมืองรังสิต ในส่วนที่
ไม่เคยรู้จากการเล่าเรื่องที่นึกภาพเมืองรังสิต ในอดีต การขุดคลอง ประโยชน์และที่มาของคลองรังสิต
โดยเฉพาะที่มาของ “คลองรังสิตประยูรศักดิ์” ครูท่านยังแนะน าให้เราไปสืบค้นรายละเอียดเพิ่มเติมจาก
แหล่งที่มาได้อีก
7