Page 3 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 3
๒
บทที่ ๒
ทัศนศึกษำตัวอย่ำงควำมส ำเร็จพื้นที่พัฒนำคุณภำพชีวิตตำมหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ โคก หนอง นำ
โดย ทีมวิทยำกร ศพช.อุดรธำนี
ปี ๒๕๖๒ นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ั
และอธิบดีกรมการพฒนาชุมชนในขณะนั้น มีนโยบายแนวคิด
ที่จะสร้างต าบลเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง โดยหนึ่งในนั้นก็คือ โครงการ โคก หนอง นา
โมเดล ซึ่งศูนย์ศึกษาและพฒนาชุมชนอุดรธานี ได้รับมอบหมาย
ั
ั
ื้
ให้พฒนาพนที่และจัดการฝึกอบรม ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ส าหรับ
ประชาชนเข้ามาเรียนรู้และศึกษาดูงาน กิจกรรม โคก หนอง นา
ั
มกราคม ๒๕๖๓ ศูนย์ศึกษาและพฒนาชุมชนอุดรธานี ร่วมกับ เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ
ื้
ด าเนินการส ารวจและเลือกพนที่ประมาณ ๖๐ ไร่ ซึ่งเป็นพนที่แห้งแล้ง ลักษณะดินเป็นดินลูกรังปนทราย
ื้
ื้
ประกอบกับน้ าใต้ดินเป็นชั้นเกลือ ใกล้เคียงกับพนที่
ส่วนใหญ่ในภูมิภาคนี้ นับเป็นความท้าทายอย่างยิ่ง
ในการน าหลักสิกรรมธรรมชาติมาปรับใช้ ให้เป็นแหล่ง
เรียนรู้ โคก หนอง นา ส าหรับประชาชนโดยวางแผน
การท างานแบ่งพื้นที่เป็นแปลง ๆ โดยใช้พนที่หนองเป็น
ื้
จุดศูนย์กลาง
การพัฒนาพื้นที่ของ ศพช.อุดรธานี ด าเนินงาน
โดยเริ่มจากการขุดหนอง ขุดคลองไส้ไก่ น าน้ ามาใช้
ในการท านา และปลูกผัก เพอให้พอกินก่อน จากนั้น
ื่
เสริมด้วยการปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง โดยใช้
หลักกสิกรรมธรรมชาติ
ั
ื้
จากการพฒนาพนที่ ศูนย์ศึกษาและพฒนาชุมชนอดรธานี จึงกลายเป็นแหล่งเรียนรู้ทฤษฎีใหม่
ุ
ั
ประยุกต์สู่โคกหนองนา โดยมีฐานเรียนรู้จ านวนทั้งสิ้น ๑๓ ฐานเรียนรู้ พื้นที่ที่พฒนาเป็นตัวอย่างของความส าเร็จ
ั
จากลงมือท า ลงมือปฏิบัติ ตามบริบทของพนที่
ื้
ซึ่งความส าเร็จมาจากการบริหารพนที่และ
ื้
การจัดการที่เป็นระบบ
พื้นที่ของความส าเร็จมีการบริหารจัดการ ดังนี้
ตัวอย่างความส าเร็จ โคกหนองนาในพื้นที่ ๑ งาน ส าหรับครัวเรือน
ที่ไม่มีพนที่มากนัก โดยย่อส่วนการปลูกป่า ๕ ระดับ ที่ใช้ไม้ยืนต้นระดับกลาง
ื้