Page 4 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 4

๓

                                         ื
                                                                 ื่
                      ุ่
                  ไม้พม ไม้เลื้อย ไม้หัว และพชผักล้มลุก และข้าวแทน เพอมุ่งเน้น
                  ไปสู่ความพอกินเป็นเบื้องต้น ซึ่งองค์ประกอบในจุดนี้ก็จะครบมีทั้ง
                  โคก หนอง และมีทั้งนาก็ยังสามารถปลูกข้าวได้ โดยผลผลิตต่อ
                  หนึ่งฤดูกาลก็จะได้ประมาณ ๑ กระสอบท าให้เลี้ยงคนหนึ่งคนใน

                  ระยะเวลา ๓๐ วันได้ ส่วนผักก็สามารถปลูกหมุนเวียนไปตามฤดูกาล

                           ต้นน้ า คือ ส่วนของ โคก ประกอบไปด้วย ป่า ๕ ระดับ ผสานกับคลองไส้ไก่ จากแนวคิดที่จะเก็บฝน

                  ตกลงมา และน้ าที่ไหลผ่านมาต้องเก็บไว้ให้ได้มากที่สุด มีคลองไส้ไก่ ประมาณ ๓๐๐ เมตร คดเคี้ยวไปตามลักษณะ
                  บริบทพื้นที่


                           การกักเก็บน้ าโดยการน าน้ าเติมหนอง จากน้ าฝน น้ าบาดาล
                  เก็บไว้ในรากของต้นไม้ก่อน คือการปลูกป่าบนโคก ให้ต้นไม้เก็บน้ า

                  ไว้และพอเข้าสู่หน้าแล้ง น้ าจากต้นไม้ก็จะค่อย ๆ ระบายออกมาสู่

                                             ื
                  หนอง และป่าที่ประกอบด้วยพชพนธุ์สมุนไพร ต้นไม้หลายชนิด
                                                ั
                  เป็นหัวใจให้กับโคก หนอง นา

                           การเก็บน้ าในอกรูปแบบคือ อธรรมปราบอธรรม นั่นก็คือน าน้ าเสียจากอาคารที่พก มาเก็บเอาไว้ใน
                                                                                              ั
                                       ี
                                                                                        ื่
                  หลุมขนมครก แล้วใช้อาทิเช่นผักตบชวา ผักบุ้ง บ าบัดน้ าเสีย รวมถึงให้น้ าที่ดีเข้ามาเพอจะมาเจือจาง ก่อนไหล
                                                                                                         ็
                  ไปสู่หนองกลาง เมื่อน้ ามาถึงหนองกลางก็มีคลองไส้ไก่หมุนเวียนน้ าให้กลับมาเหมือนเดิม เพื่อที่จะสามารถเกบน้ า
                  ให้อยู่ในแปลงนานที่สุด แล้วค่อยออกสู่หนองใหญ่


                           หนองลูกใหญ่สุดในมีพื้นที่ มีขนาด ๒ ไร่ รูปแบบเป็นหนองมีหนึ่งตะพก ความลึกเริ่มตั้งแต่ ๒ ถึง ๖ เมตร
                                                                                 ั
                  ใน ๒ ปีแรกของการขุดหนองลูกนี้ ยังไม่สามารถกักเก็บน้ าไว้ใช้ได้ตลอดทั้งปี จากสภาพดิน และปริมาณการใช้

                  จนฤดูกาลที่ผ่านมา หลักจากสามารถขุด

                  คลองไส้ไก่ ครบระบบ บนส่วนที่เป็นโคก
                  เห็นได้ชัดขึ้นว่า พนที่หนองขนาด ๒ ไร่นี้
                                 ื้
                  เพียงพอ ต่อความต้องการของแปลงพื้นที่นา

                  ที่มีพื้นที่เกือบ ๒ ไร่โดยท าการปลูกข้าวเจ้า
                  และข้าวเหนียวสลับไปแต่ละปี โดยมีพนที่
                                                 ื้
                  รอการขยายอีกประมาณ ๑๐ ไร่

                           ผลส าเร็จของ โคก หนอง นา โมเดล ศพช.อุดรธานี ที่มาจากความร่วมมือร่วมใจ ของประชาชน และบุคลากร

                  เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ ร่วมกันสร้างร่วมกันพัฒนาจนเห็นเป็นที่ประจักษ์แล้วว่า โคก หนอง นา ป่า และน้ า

                  ได้คืนความอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งอู่ข้าวอู่น้ า แม้พื้นที่ที่มีความเสื่อมโทรมก็สามารถท าให้เกิดขึ้นได้จริงได้ และตลอดไป


                                                            สื่อวีดิทัศน์ประกอบตัวอย่างพื้นที่ความส าเร็จ โคก หนอง นา
                                                            ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุดรธานี
   1   2   3   4   5   6   7   8   9