Page 88 - ทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา
P. 88
78
แนวทางการท ากิจกรรม
ครูแบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็น 2 - 3 กลุ่มย่อย ให้ผู้เรียนเลือกประธานกลุ่มและเลขานุการกลุ่ม
เพื่อเป็นผู้น าอภิปรายและผู้จดบันทึก ผลการอภิปรายของกลุ่มและน าผลการอภิปรายของกลุ่มเสนอต่อที่
ประชุมใหญ่ จากนั้นให้ผู้เรียนทุกกลุ่มอภิปรายถกแถลงเพื่อหาค าตอบตามประเด็นที่ก าหนดให้
ครูติดตามสังเกต เหตุผลของกลุ่มหากข้อมูลยังไม่เพียงพอ ครูอาจชี้แนะให้อภิปรายเพิ่มเติม ในส่วนของ
ข้อมูลที่ยังขาดอยู่ได้เลขานุการกลุ่มบันทึกผลการพิจารณาหาค าตอบตามประเด็นที่ก าหนด ให้เป็น
ค าตอบสั้น ๆ ได้ใจความเท่านั้น และน าค าตอบนั้นไปรายงานในที่ประชุมกลุ่มใหญ่ หากมีผู้เรียนไม่มาก
นักครูอาจไม่ต้องแบ่งกลุ่มย่อย ให้ผู้เรียนทุกคนร่วมอภิปรายถกแถลง หรือสนทนาแลกเปลี่ยนความคิด
กันในกลุ่มใหญ่เลยโดยมีประธานหรือหัวหน้ากลุ่มเป็นผู้น า และมีเลขานุการกลุ่มเป็นผู้บันทึกข้อคิดเห็น
ของคนในกลุ่ม ลงบนกระดาษปรู๊ฟ หรือกระดานด า (ครูอาจเป็นผู้ช่วยบันทึกได้)
ในการประชุมกลุ่มใหญ่ ผู้แทนกลุ่มย่อยน าเสนอรายงาน ครูบันทึกข้อคิดเห็นของกลุ่ม
ย่อยไว้ที่กระดาษปรู๊ฟ ซึ่งเตรียมจัดไว้ก่อนแล้ว เมื่อทุกกลุ่มรายงานแล้ว ครูน าอภิปรายในกลุ่มใหญ่ถึง
ค าตอบของกลุ่ม ซึ่งจะหลอมรวมบูรณาการค าตอบของกลุ่มย่อยออกมาเป็นค าตอบประเด็นอภิปรายของ
กรณีตัวอย่าง “หลายชีวิต” ของกลุ่มใหญ่ จากนั้นครูน าสรุปค าตอบที่ได้เป็นข้อเขียนที่สมบูรณ์ขึ้น และน า
ค าตอบนั้นบันทึกในกระดาษปรู๊ฟติดไว้ให้เห็นชัดเจน
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง ข้อสรุ ปของกรณี ข้อสรุปผลการอภิปรายจากกรณีตัวอย่างเรื่อง
ตัวอย่าง เรื่อง “หลายชีวิต” จาก “หลายชีวิต”
ความเห็นของผู้เรียนหลายกลุ่มที่ --------------
ผ่านมา ปรากฏดังในกรอบด้าน
คนแต่ละคนมีความแตกต่างกัน มีวิถีการด าเนินชีวิตที่ไม่
ขวามือตัวอย่างข้อสรุปนี้อาจ เหมือนกัน แต่ทุกคนมีความต้องการที่คล้ายกัน คือ
ใกล้เคียงกับข้อสรุปของท่านก็ได้ ต้องการประสบความส าเร็จ ซึ่งถ้าบรรลุตามต้องการของ
ตน คนนั้นก็จะมีความสุข
กรณีตัวอย่างเรื่อง “หลายชีวิต” เริ่มเปิดตัวออกมาเป็นเรื่องแรก ผู้เรียนจะต้องติดตาม
ต่อไปด้วยการท ากิจกรรมที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 ถึงที่ 5 ตามล าดับ จึงจะพบค าตอบว่า “ความเชื่อพื้นฐานทาง
การศึกษาผู้ใหญ่ คืออะไรแน่ และจะเป็นปฐมบทของ “การคิดเป็น” อย่างไร พักสักครู่ก่อนนะ