Page 10 - E - Book เพื่อคนไทย
P. 10

7                                                                                                                                                                                                                                      8



                                                  เต้นก�าร�าเคียว


























                                                                                                                                  การแต่งกาย   ฝ่ายชายนุ่งกางเกงขาก๊วย  และเสื้อกุยเฮงสีด�า มีผ้าขาวม้าคาดเอว สวม

                                                                                                                                  งอบ   และ  จะไม่ใส่รองเท้า

           เต้นก�าร�าเคียว     เป็นเพลงพื้นเมืองของชาวบ้านจังหวัดนครสวรรค์     นิยมเล่นตามท้อง                                    ฝ่ายหญิงนุ่งโจงกระเบนและเสื้อแขนกระบอก    สีด�าหรือเป็นสีพื้นก็ได้    และไม่สวม
           นาในฤดูกาลลงแขกเกี่ยวข้าว    ร้องเล่นกันเพื่อความรื่นเริงสนุกสนาน      ผ่อนคลายจาก                                     รองเท้าผู้แสดงทุกคนต้องถือเคียวในมือขวาและถือรวงข้าวในมือซ้ายด้วย


           ความเหน็ด                                                                                                              ดนตรีที่ใช้  ตามแบบฉบับของชาวบ้านแบบเดิมไม่มีดนตรีประกอบเพียงแต่ลูกคู่ทุกคนจะ
           โอกาสที่เล่น  เล่นกันในฤดูเกี่ยวข้าว ขณะที่มีการเกี่ยวข้าวนั้น เขามักจะมีการร้องเพลงเกี่ยว                             ปรบมือ และร้อง เฮ้  เฮ้ว ให้เข้าจังหวะ


           ข้าวไปด้วย โดยร้องแก้กันระหว่างฝ่ายชายกับฝ่ายหญิง และเมื่อหยุดพักการเกี่ยวข้าว
           ประมาณตะวันบ่ายคล้อยแล้ว  การเต้นก�าร�าเคียวจึงเริ่มเล่น


           วิธีการเล่น  จะแบ่งผู้เล่นเป็น  ๒  ฝ่าย  คือ ฝ่ายชาย  เรียกว่า  พ่อเพลง ฝ่ายหญิง เรียกว่า                                                            ตัวอย่างการแสดงเต้นก�าร�าเคียว
           แม่เพลง เริ่มด้วยพ่อเพลงร้องชักชวนแม่เพลงให้ออกมาเต้นก�าร�าเคียว     โดยร้องเพลงและ


           เต้นออกไปร�าล่อ  ฝ่ายหญิงและแม่เพลงก็ร้องและร�าแก้กันไป   ซึ่งพ่อเพลงแม่เพลงนี้ อาจจะ
           เปลี่ยนไปหลายๆ คน ช่วยกัน    ร้องจนกว่าจะจบเพลง  ส่วนผู้ที่ไม่ได้เป็นพ่อเพลงแม่เพลง
























                                                                                                                                                       ที่มา  :  รายการคุณพระช่วย คณะศิลปินเยาวชน สุพรรณบุรี
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15