Page 9 - E - Book เพื่อคนไทย
P. 9
6
5
การแสดงพื้นเมืองภาคกลาง
ดนตรี ดนตรีที่ใช้ประกอบการฟ้อน จะใช้วงดนตรีพื้นเมืองซึ่งมีสะล้อ
ซอ ซึง เพลงร้องมักไม่นิยมมี จะมีแต่เพลงที่ใช้บรรเลงประกอบ แต่เดิมที่
บิดาของคุณบัวเรียวใช้นั้นเป็นเพลงปราสาทไหว ส่วนคุณบัวเรียวจะใช้
เพลงลาวสมเด็จ เมื่อมีการถ่ายทอดมาครูนาฎศิลป์ได้เลือกสรรใช้เพลง "ซอ
ปั่นฝ้าย"
ภาคกลางภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น�้าหลายสายเพมาะแก่การก
สิกรรม ท�านา ท�าสวน ประชาชนอยู่อย่างอุดมสมบูรณ์ จึงมีการเล่นรื่นเริง
ตัวอย่างการแสดงฟ้อนสาวไหม ในโอกาสต่างๆมากมาย ทั้งตามฤดูกาล และตามเทศกาล ตลอดจนตาม
โอกาสที่มีงานรื่นเริง
ภาคกลางเป็นที่รวมของศิลปวัฒนธรรม การแสดงจึงมีการถ่ายทอดสืบ
ต่อกัน และพัฒนาดัดแปลงขึ้นเรื่อยๆ จนบางอย่างกลายเป็นการแสดง
นาฏศิลป์แบบฉบับไปก็มี เช่น ร�าวง เป็นต้น และเนื่องจากเป็นที่รวมของ
ศิลปะนี้ เอง ท�าให้คนภาคกลางรับการแสดงของท้องถิ่นใกล้เคียงเข้าไว้หมด
แล้วปรุงแต่งตามเอกลักษณ์ของภาคกลางคือ การร่ายร�าที่ใช้มือ แขน และ
ล�าตัว เช่นการจีบมือ ม้วนมือ ตั้งวง การอ่อนเอียงและยักตัว สังเกตได้จาก
ร�าลาวกระทบไม้ ที่ดัดแปลงมาจาก เต้นสาก การเต้นเข้าไม้ของอีสานในการ
เต้นสากก็เป็นการเต้นกระโดดตามลีลาอีสาน แต่การร�าลาวกระทบไม้ที่กรม
ศิลปากรปรับปรุงขึ้นใหม่นั้น นุ่มนวลอ่อนหวาน กรีดกรายร่ายร�า แม้การเข้า
ไม้ก็นุ่มนวลมาก
ที่มา : www.korattheatre.go.th ฟ้อนสาวไหม