Page 5 - E - Book เพื่อคนไทย
P. 5

1                                                                                                                  2



 ประวัติการแสดงสี่ภาค          วัตถุประสงค์การแสดงพื้นเมือง







                       กล่าวได้ว่าการแสดงพื้ นเมืองในแต่ละภาคจะมีลักษณะที่
    การแสดงพื้นเมือง   หมายถึง การแสดงที่เกิดขึ้นตามท้อง  คล้ายคลึงกันในเรื่องของมูลเหตุแห่งการแสดง ซึ่งแบ่งออกได้ดังนี้


 ถิ่นและตามพื้นที่ต่างๆ  ของแต่ละภูมิภาค  โดยอาจมีการพัฒนา   ๑.แสดงเพื่อเซ่นสรวงหรือบูชาเทพเจ้า  เป็นการแสดงเพื่อแสดงความ


 ดัดแปลงมาจากการละเล่นพื้นเมืองของท้องถิ่นนั้นๆ          การ  เคารพต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือเซ่นบวงสรวงดวงวิญญาณที่ล่วงลับ

 แสดงพื้นเมือง  เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล�้าค่า  ที่บรรพบุรุษ


 ไทยได้สั่งสม  สร้างสรรค์  และสืบทอดไว้เป็นเอกลักษณ์ประจ�า


 ชาติ  เพื่อให้รุ่นลูกรุ่นหลานได้เรียนรู้และรักในคุณค่าในศิลปะ

 ไทยในแขนงนี้  เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทย และพร้อม


 ที่จะช่วยสืบทอด  จรรโลง  และธ�ารงไว้เป็นสมบัติของชาติสืบไป       ๒.แสดงเพื่อความสนุกสนานในเทศกาลต่างๆ   เป็นการร�าเพื่อการ


 การแสดงพื้นเมือง เป็นการแสดงเพื่อก่อให้เกิดความสนุกสนาน  รื่นเริง  ของกลุ่มชนตามหมู่บ้าน  ในโอกาสต่างๆ  หรือเพื่อเกี้ยวพารา


 เพลิดเพลิน  และความบันเทิงในรูปแบบต่างๆ  ซึ่งจะมีลักษณะ  สีกันระหว่าง ชาย – หญิง


 แตกต่างกันตามสภาพภูมิประเทศ สังคม วัฒนธรรม แต่ละท้อง  ๓.แสดงเพื่อความเป็นสิริมงคล   เป็นการร�าเพื่อแสดงความยินดีใน

 ถิ่น  ดังนั้นการแบ่งประเภทของการแสดงพื้นเมืองของไทย  โดย  โอกาสต่างๆ หรือใช้ในโอกาสต้อนรับแขกผู้มาเยือน


 ทั่วไปจะแบ่งตามส่วนภูมิภาค ดังนี้  ๔.แสดงเพื่อสื่อถึงเอกลักษณ์ของท้องถิ่นอันเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ


 ๑.     การแสดงพื้นเมืองของภาคเหนือ  และวัฒนธรรมประเพณีเพื่อสร้างชื่อเสียงให้เป็นที่รู้จัก

 ๒.    การแสดงพื้นเมืองของภาคกลาง


 ๓.    การแสดงพื้นเมืองของอีสาน


 ๔.    การแสดงพื้นเมืองของใต้
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10