Page 19 - Microsoft Word - เล่ม สรุปถอดบทเรียนการประชุมวิชาการมหกรรมสุข1
P. 19

19

               พระนครศรีอยุธยาและรพ.สต.ที่อยู(ในเขต อ.พระนครศรีอยุธยา(ซึ่งเป;นเครือข(ายโดยตรงของโรงพยาบาล
               พระนครศรีอยุธยา)

                     3. ทุกวิชาชีพและทุกหน(วยงานมีการสื่อสารที่ตรงกันโดยใช เกณฑ พิจารณาผู ปxวยที่เข าเกณฑ การดูแล
               แบบ ประคับประคอง(Palliative care) และใช PPS v.2 ในการประเมินระดับของผู ปxวยที่ได รับการดูแลแบบ
               ประคับประคอง
                     4. มีการประชุมเพื่อพัฒนาเครือข(าย พัฒนาความรู แก(บุคลากรในหน(วยงานเป;นระยะเพื่อพัฒนาระบบ

               บริการและการดูแลแบบประคับประคอง มีทีมการดูแลชื่อ “ทีมเพาะรัก”
                     5. มีการติดตาม และประเมินผลคุณภาพการดูแลผู ปxวยแบบประคับประคองโดยอาศัยตัวชี้วัดอย(างเป;น
               ระบบ
                     6. มีการกําหนดขอบข(ายและแนวเวชปฏิบัติการดูแลผู ปxวยแบบประคับประคองทั้งผู ปxวยใน

                     ผู ปxวยนอกและการดูแลในชุมชน
                     7. ในส(วนของการดูแลผู ปxวยไตเรื้อรังระยะสุดท ายนั้น การรักษาแบบประคับประคองถูกบรรจุให เป;น
               หนึ่งในทางเลือก นับตั้งแต(ผู ปxวยเข าสู(ระยะให คําปรึกษาเพื่อการบําบัดทดแทนไต
                     8. กลุ(มเป2าหมายคือ ผู ปxวยที่ไม(เหมาะสมกับการบําบัดทดแทนไตชนิดใดๆ (พิจารณาจาก

               CharlsonCormobidity Score ร(วมกับ PPS Version 2) รวมถึงผู ปxวยที่ปฏิเสธการบําบัดทดแทนไตและกลุ(ม
               ผู ปxวยที่เข ารับการบําบัดทดแทนไตแล วมี PPS Score ลดลงและปรารถนาจะยุติการบําบัดทดแทนไต
                     9. เมื่อผู ปxวยและครอบครัวตกลงใจที่จะเลือกการรักษาแบบประคับประคองจะได รับการลงทะเบียน
               และการดูแลโดยใช  Advance  Care  Plan  และมีการทํา Family  Meeting  รวมถึงการทํา Living  will  ใน

               ผู ปxวยที่แจ งความประสงค
                     10. ผู ปxวยและครอบครัวจะได รับการดูแล เน นการดูแลทางร(างกาย จิตสังคมและจิตวิญญาณครอบคลุม
               ทั้งสามระยะ ตั้งแต( Pre-Dying / Dying และ Post Dying จากทีมสหสาขาวิชาชีพ

                     ส(วนที่ 4 ปmจจัยแห(งความสําเร็จ ปmญหาอุปสรรคและแนวทางแก ไข
                     เส นทางแห(งความสําเร็จของการดูแลแบบประคับประคองของรพ.พระนครศรีอยุธยานั้น อาจกล(าวได ว(า
               ปmจจัยสําคัญคือทีมสหสาขาวิชาชีพที่ประกอบด วยแพทย ทุกสาขา พยาบาล เภสัชกร โภชนากรและบุคลากร
               อื่นๆทั้งเครือข(าย มีความมุ(งมั่น มีความตระหนักที่จะดูแลผู ปxวยแบบองค รวมจนกระทั่งวาระสุดท ายของชีวิต

               ปmจจัยรองลงมาได แก(การกําหนดแนวทางเวชปฏิบัติที่ชัดเจนและมองเห็นความเชื่อมโยงต(อเนื่องทั้งเครือข(าย
               จากโรงพยาบาลศูนย สู(โรงพยาบาลทั่วไป รพสต.และชุมชน โดยทุกขั้นตอนคํานึงถึงผู ปxวยและครอบครัวเป;น
               สําคัญ มีการกําหนดตัวชี้วัดและการเก็บข อมูลเพื่อนํามาใช วิเคราะห และแก ไขปmญหาในงานอยู(ตลอดเวลา
                     ในด านของปmญหาและอุปสรรคนั้นพบว(ายังมีการเปลี่ยนใจกลับเข ารับการรักษาบําบัดทดแทนไตด วยวิธี

               อื่นด วยเช(น การล างไตทางหน าท องเป;นต น รวมถึงต องอาศัยระยะเวลาในการติดตามความสําเร็จ ปmญหาและ
               อุปสรรคที่อาจจะเกิดขึ้นจากการดําเนินงานต(อไป

                     ส(วนที่ 5 บทสรุปที่ได จากการถอดบทเรียนและข อเสนอแนะเชิงนโยบาย

                       การดูแลแบบประคับประคองในผู ปxวยไตเรื้อรังระยะสุดท ายนั้น ถือเป;นศาสตร และศิลป‹ของการดูแลที่
               ต องอาศัยความร(วมมือจากผู เกี่ยวข องทั้งทีมสหสาขาวิชาชีพกับผู ปxวยและครอบครัว หากมีการกําหนดบทบาท
               หน าที่ของทีม การวางแผนการดูแล ขั้นตอนและแนวทางเวชปฏิบัติที่ชัดเจน ครอบคลุมรวมถึงความเชื่อมโยง
               และต(อเนื่องกันทุกระยะแล วนั้นจะทําให มีโอกาสประสบผลสําเร็จสูงโดยที่ผู ปxวยและครอบครัวมีความพึงพอใจ

               ที่ได รับการดูแลอย(างเหมาะสมจนวาระสุดท าย
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24