Page 93 - Microsoft Word - เล่ม สรุปถอดบทเรียนการประชุมวิชาการมหกรรมสุข1
P. 93
93
๖.การดําเนินการวิจัย
๑. รวบรวมและวิเคราะห ข อมูล และร(วมกันหาแนวทางการแก ไขปmญหาโดยให ชุมชนและทุกภาคส(วน
เข ามามีส(วนร(วมในการสร างรูปแบบการบําบัด “ชะไวโมเดล”
๒. ชี้แจงรายละเอียด และมอบหมายบทบาทหน าที่กับผู เกี่ยวข องตลอดระยะเวลาการบําบัด ๓ เดือน
โดยนัดหมายทุกวันศุกร ของสัปดาห โดยมีขั้นตอนดังนี้ทุกสัปดาห ( ๑ – ๑๒ สัปดาห )
ขั้นตอนที่ ๑ ตํารวจและอาสาป2องกันภัย ทําหน าที่ และตรวจปmสสาวะก(อนการบําบัด โดยมีผู นํา
ชุมชนทําหน าที่ติดตามให เข ารับการบําบัด
ขั้นตอนที่ ๒ เจ าหน าที่จากรพ.สต.ชะไว และอสม. ซักประวัติและชั่งน้ําหนัก วัดความดันโลหิต
ขั้นตอนที่ ๓ ตํารวจหรือทหาร ทําหน าที่ ออกกําลังกาย
ขั้นตอนที่ ๔ พยาบาลให การบําบัดเพื่อการปรับเปลี่ยนทัศนคติแบบ Matrix Program ทั้งรายเดี่ยว/
กลุ(ม
ขั้นตอนที่ ๕ ผู นําศาสนา (อิหม(าม) ให การบําบัดโดยใช หลักศาสนาเข ามามีส(วนร(วม นําเข าทํา
ละหมาด
สัปดาห ที่ ๔ และ ๗ การบําบัดพร อมครอบครัว เพื่อปรับทัศนคติและเสริมทักษะครอบครัวในการดูแล
ผู รับบําบัด
สัปดาห ที่ ๕ และ ๘ กิจกรรมจิตอาสาเพื่อชุมชน
๓. ผู นําชุมชนร(วมกับการปกครองส(วนท องถิ่นจัดหาอุปกรณ และเครื่องออกกําลังกายในชุมชน จัด
กิจกรรมออกกําลังกายในชุมชน เพื่อปรับสิ่งแวด
๓. ติดตามผลการบําบัด วิเคราะห และสรุปผล
๗. ผลการวิจัย
จากการศึกษาผลการบําบัดยาเสพติดใช รูปแบบ “ชะไวโมเดล” ในกลุ(มผู รับการบําบัดที่เป;นผู เสพติด
จํานวนทั้งสิ้น ๑๘ รายในพื้นที่ชุมชนมุสลิมตําบลชะไว โดยเป;นเพศชาย ๑๗ ราย และเพศหญิง ๑ ราย เป;น
ระยะเวลา ๑๒ สัปดาห สัปดาห ละ ๑ วัน โดยการศึกษานี้จะเป;นการศึกษาผลภายหลังทําการวิจัย เมื่อได เก็บ
รวบรวมข อมูลและดําเนินการตามขั้นตอนต(างๆ จนสิ้นสุดการทดลอง และนําข อมูลที่ได มาวิเคราะห ข อมูล สรุป
ผลได ว(า
๑.ภายหลังการบําบัดยาเสพติดโดยใช รูปแบบ “ชะไวโมเดล”ผู รับบําบัดยาเสพติดสามารถคงการ
บําบัดรักษา (retention rate) ได ร อยละ ๗๒.๒๖
๒.ภายหลังการบําบัดยาเสพติดโดยใช รูปแบบ “ชะไวโมเดล”ผู รับบําบัดยาเสพติดสามารถหยุดเสพ
(remission rate) ได ร อยละ ๓๘.๘๘
๘. ผลการวิจัยที่ได รับแตกต"างจากที่ตั้งไว อย"างไร
ผลการวิจัยที่ได นั้นแตกต(างจากสิ่งที่ได คาดการณ คือ พบว(ามีผู เข ารับการบําบัดต(อเนื่อง โดยไม(ขาด
นัดเกิน ๓ เดือน (retention rate) ได มากขึ้น ซึ่งต(างจากการบําบัดเดิมที่ทําในสถานพยาบาลเท(านั้น แลมีผู
ขาดนัดเป;นจํานวนมาก อาจเนื่องจากการปรับมาบําบัดในชุมชน และให ชุมชนและทุกภาคส(วน เข ามามีส(วน
ร(วมในการบําบัด ชุมชนมีความตระหนัก และเข าใจบริบทในพื้นที่ตนเองได ดีครอบครัวมีทัศนคติที่ดีต(อผู เข ารับ
การบําบัด