Page 45 - FVC2015
P. 45
ภาพที่ 3.8 สารดูดซับความขมของน้ําาส้มโอ Chitosan (ซ้าย) และเปลือกไข่ (ขวา) ตารางที่ 3.2 ผลการลดความขมของน้ําาส้มโอโดยใช้สารดูดซับ
ปัจจัย
ลดความขมโดยใช้ Chitosan
ลดความขมโดยใช้เปลือกไข่
สี
สีเข้มขึ้น
ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ความใส
ขุ่นมากขึ้น
ใสขึ้นเล็กน้อย
กลิ่นรส
มีกลิ่นคาวของ Chitosan ปน
ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
รสชาติ
รสชาติไม่ต่างจากก่อนผ่าน กระบวนการ
หวานแหลม, มีความเปรี้ยวน้อยลง และ ขมไม่ต่างจากก่อนผ่านกระบวนการ
การยอมรับของผู้บริโภค
ไม่ยอมรับ
พอรับได้
้้
เมอื่ คาํา นวณตน้ ทนุ ในการผลติ นาํา สม้ โอจากสม้ 1 กโิ ลกรมั หรอื นาํา สม้ 425 กรมั (1 ขวด)
ประกอบด้วย ค่าแรง 25 บาท ค่าส้มโอ 2 บาท ค่าเปลือกไข่ 0 บาท ค่าเครื่องมือและพลังงาน 10,000 บาทต่อปี หากขายน้ําาส้มโอขวดละ 50 บาท จะได้กําาไรส่วนเพิ่มขวดละอย่างน้อย 20 บาท ถ้ามีการผลิตวันละ 112 กิโลกรัมต่อวัน จําานวน 60 วัน จะผลิตได้ 6,720 กิโลกรัมต่อปี และจะสร้างรายได้เพิ่มให้กับเกษตรกรถึง 124,400 บาทต่อปี
จากปัญหาต่าง ๆ ที่กล่าวมานั้น สามารถสรุปประเด็นปัญหา แนวทางการแก้ไข และ ผลเปรียบเทียบเชิงปริมาณก่อนและหลังการแก้ไขปัญหาได้ดังแสดงในตารางที่ 3.3
037