Page 74 - FVC2015
P. 74
ภาพที่ 3.35 ความชน้ื สมั พทั ธเ์ ฉลย่ี ภายในคลงั หอ้ งเยน็ ทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รกั ษาขา้ วญป่ี นุ่ ในแตล่ ะวนั
จากภาพพบว่า อุณหภูมิระหว่างการเก็บรักษาข้าวญ่ีปุ่นที่คลังห้องเย็นจะค่อนข้าง คงที่ โดยเฉลี่ยแล้วอยู่ที่ 14.3 องศาเซลเซียส (< 15 องศาเซลเซียส) โดยมีช่วงที่อุณหภูมิสูง กว่า 15 องศาเซลเซียส อยู่เพียง 1.05% ของบันทึกข้อมูลทั้งหมด ดังภาพที่ 3.34 ในส่วน ของความชื้นสัมพัทธ์ พบว่าความชื้นสัมพัทธ์ภายในคลังห้องเย็นค่อนข้างคงที่ที่ประมาณ 64- 67 % RH (< 70% RH) ในช่วงต้นเดือนกรกฎาคม แต่หลังจากนั้นความชื้นสัมพัทธ์ภายในคลัง หอ้ งเยน็ ไดเ้ พมิ่ สงู ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง เนอื่ งจากโรงงานไดท้ ยอยนาํา ขา้ วญปี่ นุ่ ลอ็ ตใหมเ่ ขา้ ไปเกบ็ ใน คลังห้องเย็น ทําาให้ความชื้นสัมพันธ์ระหว่างการเก็บรักษาข้าวญี่ปุ่นในช่วงระยะเวลาดังกล่าว เปลี่ยนแปลงเพิ่มสูงขึ้น โดยความชื้นสัมพัทธ์ได้เพิ่มขึ้นสูงสุดถึง 90% RH หลังจากที่โรงงาน ได้ทยอยนําาข้าวญี่ปุ่นเข้าไปเก็บจนเต็มคลังแล้ว ความชื้นสัมพัทธ์ภายในคลังห้องเย็นจึงเริ่ม ลดต่ําาลง (ปลายเดือนสิงหาคม) จนค่อนข้างคงที่อีกครั้ง แต่ก็ยังสูงกว่าความชื้นสัมพัทธ์ในช่วง แรก เมอื่ ตอนตน้ ฤดกู าลเกบ็ เกยี่ ว โดยความชนื้ สมั พทั ธใ์ นชว่ งหลงั นอี้ ยทู่ ปี่ ระมาณ 75-80% RH จากข้อมูลความชื้นสัมพัทธ์ภายในคลังห้องเย็นที่บันทึก พบว่ามีช่วงที่ความชื้นสัมพัทธ์ภายใน คลังห้องเย็นสูงเกิน 70% RH ประมาณ 50% ของบันทึกข้อมูลทั้งหมด ดังภ่าพที่ 3.35 ซึ่งจาก การสาํา รวจเอกสารงานวจิ ยั พบรายงานวา่ การเกบ็ ขา้ วทคี่ วามชนื้ สมั พทั ธท์ ตี่ าํา จะสามารถรกั ษา คุณภาพของข้าวได้ดีกว่า นอกจากนี้บรรจุภัณฑ์ที่ใช้อาจไม่เพียงพอต่อการรักษาคุณภาพของ ข้าวญี่ปุ่น (Under-packaging)
จากการสําารวจงานวิจัยในอดีตของ Tran et al. (2005) ได้ทดลองเก็บรักษาข้าว Japonica และ Indica ทมี่ คี วามชนื้ 14±1% ในถงุ กระดาษปดิ ดว้ ยเทปกาวทอ่ี ณุ หภมู หิ อ้ ง และ ที่สภาวะควบคุม ที่อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส และ 65-70% RH เป็นเวลา 10 เดือน พบว่า
066