Page 16 - BBLP ejournal2018.docx
P. 16
วารสารเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
คือเวคเตอร์ของปัจจัยคงที่ systematic effects
̴ N(0, σ ) คือเวคเตอร์ของปัจจัยสุ่มของกลุ่มการจัดการในฟาร์ม × ปีเมื่อได้รับการผสมครั้ง
2
hy
แรกส าหรับลักษณะโคสาว และเวคเตอร์ของปัจจัยสุ่มของกลุ่มการจัดการในฟาร์ม × ปีเมื่อคลอดลูกส าหรับ
ลักษณะแม่โค
̴ N(0, σ ) คือเวคเตอร์ของปัจจัยสุ่มเนื่องจากอิทธิพลของพันธุกรรมจากยีนแบบบวกสะสม
2
a
ส าหรับสัตว์ทุกตัวในพันธุ์ประวัติ
̴ N(0, σ ) คือเวคเตอร์ของปัจจัยสุ่มเนื่องจากอิทธิพลของสภาพแวดล้อมถาวรส าหรับสัตว์
2
pe
ทุกตัวที่มีข้อมูล (ส าหรับแม่โค)
̴ N(0, σ ) คือเวคเตอร์ของปัจจัยเนื่องจากพ่อพันธุ์ที่ใช้ผสมเทียม (ส าหรับ FSC, P56, P90)
2
ss
̴ N(0, σ ) คือเวคเตอร์ของปัจจัยสุ่มเนื่องจากความคลาดเคลื่อน
2
e
คือเมตริกซ์ที่สัมพันธ์กับปัจจัยคงที่
, , และ คือเมตริกซ์ที่สัมพันธ์กับปัจจัยสุ่ม
คือเมตริกซ์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวสัตว์
คือ Identity matrix
σ , σ ,σ , σ และσ คือความแปรปรวนของ ฝูง-ปี เมื่อได้รับการผสมเทียมครั้งแรก หรือการ
2
2
2
2
2
a
e
ss
pe
hy
คลอดครั้งแรกพันธุกรรมจากยีนแบบบวกสะสมสภาพแวดล้อมถาวรพ่อพันธุ์ที่ใช้ผสมเทียม และความคลาด
เคลื่อนตามล าดับ
ปัจจัยคงที่ Systematic effects ในโคสาวส าหรับ AFS และ AFC ประกอบด้วย กลุ่มพันธุ์ (3 กลุ่ม)
และ ปี-เดือนของการผสมเทียมครั้งแรก (185 กลุ่ม) ส่วนDFTC, FSC, และ NSPC ประกอบด้วย กลุ่มพันธุ์
(3 กลุ่ม) อายุเมื่อได้รับการผสมครั้งแรก (5 กลุ่ม)และ ปี-เดือนของการผสมเทียมครั้งแรก (185 กลุ่ม) ขณะที่
Systematic effects ในแม่โคประกอบด้วย กลุ่มพันธุ์ (3 กลุ่ม) อายุเมื่อคลอดลูก (7 กลุ่ม) ปี-เดือนของการ
คลอด (181 กลุ่ม) ล าดับการคลอด (5 กลุ่ม)
การวิเคราะห์ร่วมสองลักษณะพร้อมกันเพื่อที่จะหาค่าสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระหว่างลักษณะ
ความสมบูรณ์พันธุ์ที่ต่างกันภายในโคสาวกับแม่โค และระหว่างลักษณะความสมบูรณ์พันธุ์เดียวกันในโค
สาวและแม่โคจะใช้ LAM-LAM, TAM-LAM, และ TAM-TAM ส าหรับการวิเคราะห์ร่วมสองลักษณะภายในโค
สาวและแม่โคโมเดลที่ใช้ในการวิเคราะห์จะใช้โมเดลเช่นเดียวกับการวิเคราะห์ทีละลักษณะ ยกเว้นการ
วิเคราะห์ระหว่าง AFC หรือ AFS กับลักษณะความสมบูรณ์พันธุ์ของโคสาวอื่น (NSPC, FSC,DFTC, P56,
P90) ที่อายุเมื่อผสมเทียมครั้งแรกจะไม่ได้ใส่ไว้ในโมเดล
6