Page 21 - BBLP ejournal2018.docx
P. 21
Journal of Biotechnology in Livestock Production
Table 3 Estimates of heritability and herd contribution (standard deviation in parenthesis)for various fertility traits
with discontinuity data in heifers and cows which analyzed by Linear animal model (LAM) with REML and
Threshold animal model (TAM) with Bayesian approach via Gibbs sampling
Heifers Cows
Parameter Traits 1/ LAM TAM LAM TAM
Heritability NSPC 0.01 (0.003) 0.02 (0.005) 0.04 (0.006) 0.03 (0.009)
FSC 0.01 (0.002) 0.01 (0.003) 0.01 (0.003) 0.01 (0.002)
P56 0.01 (0.002) 0.01 (0.002) 0.02 (0.004) 0.02 (0.005)
P90 0.01 (0.002) 0.02 (0.005) 0.02 (0.003) 0.02 (0.006)
Herd NSPC 0.07 (0.003) 0.10 (0.005) 0.07 (0.003) 0.08 (0.005)
Contribution FSC 0.06 (0.003) 0.15 (0.006) 0.04 (0.003) 0.06 (0.004)
P56 0.06 (0.003) 0.22 (0.007) 0.04 (0.003) 0.07 (0.005)
P90 0.06 (0.003) 0.26 (0.009) 0.03 (0.003) 0.07 (0.006)
Repeatability NSPC - - 0.15 (0.005) 0.13 (0.015)
FSC - - 0.07 (0.005) 0.09 (0.007)
P56 - - 0.08 (0.005) 0.11 (0.009)
P90 - - 0.08 (0.005) 0.13 (0.011)
1/ NSPC = number of service per conception; FSC = conception at first service; P56= pregnancy within 56 days
after first service; P90 = pregnancy within 90 days after first service
ค่าอัตราการมีส่วนร่วมของฝูง
ค่าอัตราการมีส่วนร่วมของฝูงจะมีค่าสูงกว่าค่าอัตราพันธุกรรมเกือบทุกลักษณะความสมบูรณ์พันธุ์
(Table 2) มีค่าอยู่ระหว่าง 0.03 (P90 ในแม่โค) 0.39 (AFS ในโคสาว) สอดคล้องกับการศึกษาของ Buaban
et al. (2015) ยกเว้น DO และ CI ที่ค่าอัตราการมีส่วนร่วมของฝูงสูงกว่าค่าอัตราพันธุกรรม Jamrozik et al.
(2005) และ Abe et al. (2009) ได้รายงานค่าอัตราการมีส่วนร่วมของฝูงส าหรับ AFS และ AFC ในโค
โฮลสไตน์ (0.48 และ 0.50 ตามล าดับ) ค่าอัตราการมีส่วนร่วมของฝูงที่ได้สูงใน AFS และ AFC อาจ
เนื่องมาจากการให้อาหารที่แตกต่างกัน และการตัดสินใจของเกษตรกรหรือเจ้าหน้าที่ในการก าหนดอายุของ
โคในการผสมเทียมของแต่ละฟาร์มที่แตกต่างกัน ค่าอัตราการมีส่วนร่วมของฝูงที่ได้สูงใน DTFS (0.11)
ส าหรับแม่โคได้ผลเหมือนกับที่รายงานโดย Jamrozik et al. (2005), Abe et al. (2009) และTiezzi et al.
(2012) ค่าอัตราการมีส่วนร่วมของฝูงส าหรับ NSPC, FSC, DFTC, DO และ CI ที่ได้ต ่า อาจเป็นผลมาจาก
ความผันแปรที่ต ่ากว่าของประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์โดยเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม ฝูง-ปี ส าหรับอัตราส่วนของ
ความแปรปรวนเนื่องจากพ่อพันธุ์ที่ใช้ผสมเทียมกับความผันแปรทั้งหมดส าหรับ FSC, P56 และ P90 มีค่า
เท่ากับ 0.01 หรือ ต ่ากว่าทั้งในโคสาวและแม่โค (ไม่ได้แสดง) ค่าความแปรปรวนที่น้อยมากของพ่อพันธุ์ที่
ใช้ผสมเทียมได้มีการรายงานไว้ในระบบการเลี้ยงแบบปราณีต (Jamrozik et al., 2005; Kuhn and
11