Page 10 - หยาดเพชรหยาดธรรม
P. 10

ภูมิปัญญาเพื่อการศึกษาไทย  3




                  ในพระพุทธศาสนาเหมาะแต่จะนำาไปใช้ในการจัดการ

                  ศึกษาสำาหรับพระสงฆ์เท่านั้น  แม้แต่ชื่อกระทรวงที่

                  จัดการศึกษาก็ถูกเปลี่ยนจาก  “กระทรวงธรรมการ”  มา
                  เป็น  “กระทรวงศึกษาธิการ”  การศึกษากับการศาสนาก็

                  ขาดสะบั้นจากกันแต่นั้นมา

                         ตราบจนเมื่อท่านพุทธทาสภิกขุแห่งสวนโมกข-

                  พลารามได้เพียรพูดและเขียน เพื่อชี้ให้เห็นถึงคุณค่าของ

                  การนำาเอาหลักธรรมคำาสอนในพระพุทธศาสนามาเป็น
                  แนวทางในการจัดการศึกษา  นักการศึกษาไทยจึงเริ่ม

                  หันมาให้ความสนใจ  แต่ก็ยังอยู่ในวงแคบ  ส่วนใหญ่ยัง

                  มุ่งมองไปยังตะวันตกอยู่เหมือนที่เป็นกันมาแต่ในอดีต
                  ต่อเมื่อปรากฏความคิดและงานเขียนอันลุ่มลึกของ

                  พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) ออกสู่สาธารณชน นักการ

                  ศึกษาไทยจึงเริ่มตื่นตัวหันมาสนใจพระพุทธศาสนาใน

                  ฐานะที่เป็นขุมทรัพย์แห่งปรีชาญาณทางการศึกษาของ
                  ไทย จนเกิดเป็นกระแสทางเลือกใหม่ในการจัดการศึกษา

                  ขึ้นในปัจจุบันนี้

                        พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) ได้อุทิศตนในการ

                  ศึกษาและประมวลเอาเนื้อหาสาระแห่งคำาสอนของ

                  พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าออกมาจากพระ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15