Page 12 - หยาดเพชรหยาดธรรม
P. 12

ภูมิปัญญาเพื่อการศึกษาไทย  5




                        นอกจากทำาให้รู้เข้าใจตัวเองและพื้นฐานของ

                        สังคมไทยแล้ว  ยังเชื่อมโยงออกไปให้เข้าใจ

                        สังคมและชีวิตจิตใจของชนชาติต่างๆ  ในภาค
                        ตะวันออกได้ง่ายขึ้นด้วย  ตลอดจนเป็นฐาน

                        เทียบเคียงให้เข้าใจสังคม  และชีวิตจิตใจของ

                        ตะวันตกที่ต่างออกไป  พร้อมทั้งมองเห็นสาย
                        สัมพันธ์ทั้งด้านบวกและด้านลบที่เป็นเหตุ

                        ปัจจัยกันอยู่ในอารยธรรมของมนุษย์ชาติ”

                        ปัจจุบันนี้ นักการศึกษาชั้นนำาของไทยล้วนยอมรับ

                  โดยทั่วกันว่า พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) เป็นปราชญ์

                  ทางพุทธศาสนาที่สามารถเสนอแนวทางปรับปรุง
                  เปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษาไทยจากทัศนะของ

                  พระพุทธศาสนาได้อย่างเป็นระบบ  เห็นชัดทั้งในเรื่อง

                  ความหมายของการศึกษา  จุดมุ่งหมายของการศึกษา

                  ตลอดจนเนื้อหาสาระ และกระบวนการจัดกิจกรรม การ
                  เรียนการสอน  พระคุณเจ้ารูปนี้สามารถตรวจสอบและ

                  อัญเชิญพุทธพจน์จากพระบาลีออกมายืนยันทัศนะอัน

                  สุขุมลุ่มลึกของพระคุณท่านได้อย่างชัดเจน  จนเป็นที่
                  ประจักษ์แล้วว่าพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาแห่งการ

                  ศึกษาโดยแท้  คงมิเป็นการเกินจริงหากจะกล่าวว่า
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17