Page 34 - ลง E book - สำเนา
P. 34
รูปที่ 13 ตรวจวัดสภาพเครื่องจักรด้วยเครื่องมือวัด
(ที่มา : บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ ากัด. 2561. สืบค้นจาก : www.measuretronix.com)
ในทางปฏิบัติ การก าหนดความถี่การซ่อมบ ารุงเครื่องจักรต้องใช้ทั้ง 2 วิธี ทั้งการก าหนดด้วย
จ านวนเวลาท างานของเครื่องจักรและเครื่องมือวัดการเสื่อมสภาพขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้บริหารว่า
เครื่องจักรใดจะใช้วิธีใด หรือใช้ร่วมกันทั้ง 2 วิธี ส่วนการวัดการเสื่อมสภาพด้วยเครื่องมือวัดจะท าให้
เกิดความถูกต้อง มั่นใจยิ่งขึ้นสามารถวิเคราะห์แก้ไขปัญหารวดเร็วขึ้น
ถ้าเราน าเครื่องมือที่สามารถตรวจวัดสภาพเครื่องจักรได้ เพื่อทดสอบ วัดสภาพ หาสิ่งผิดปกติ
และแก้ปัญหาก่อนการใช้งานในกระบวนการผลิต ก็จะท าให้ลดปัญหาการขัดข้องเริ่มต้น (Early
Failure) ท าให้เครื่องจักรมีอายุการใช้งานยาวนาน ลดการเสียหายขัดข้องฉุกเฉิน
การบ ารุงรักษา หยั่งรู้หาสาเหตุผิดปกติ และแก้ไขก่อนการใช้งานในลักษณะนี้เรียกว่า ว่าการ
บ ารุงรักษาเชิงรุกแบบมืออาชีพ (Proactive Maintenance) ข้อดี ข้อเสีย ที่ต้องมอง
- ท าไมต้อง (Proactive Maintenance)
1. หยั่งรู้ หาสาเหตุการผิดปกติของเครื่องจักรก่อนใช้งานในกระบวนการผลิต
2. ลดสาเหตุ การขัดข้องฉุกเฉิน เมื่อเริ่มใช้งานเครื่องจักร
3. เครื่องจักรมีอายุการใช้งานยาวนานมากขึ้น ท าให้ลดการ Break Down, ลดวัสดุ อะไหล่
ค่าซ่อมบ ารุง
4. เพื่อเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุนต่อหน่วย เพิ่มก าไร
- ท าไมต้อง (Predictive Maintenance)
1. พยากรณ์อายุการใช้งาน ได้อีกนานถึงช่วง PM ถัดไปหรือไม่
2. วัด – วิเคราะห์ หาสาเหตุผิดปกติ พยากรณ์วางแผนซ่อมบ ารุงไม่ให้กระทบกับการผลิต
3. แก้ไขปัญหาได้ถูกต้อง ตรงสาเหตุท าให้ลดค่าใช้จ่ายการซ่อมบ ารุง
4. ลดการเสียหายขัดข้องฉุกเฉิน “Break Down” ลดการเก็บวัสดุ อะไหล่