Page 19 - เอกสารประกอบการสอนพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
P. 19
19
จนกระทั่งถูกหมดทั้งโปรแกรมจึงท าการประมวลผลต่อไปได้
6. นักเรียนจัดเป็นบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ประเภทผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User)
หมายถึง ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป สามารถท างานตามหน้าที่ในหน่วยงานนั้น ๆ เช่น พิมพ์งาน
ป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
7. ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Programmer :โปรแกรมเมอร์) หมายถึง ผู้เขียนโปรแกรมตามที่
ผู้ออกแบบและผู้วิเคราะห์ระบบคอมพิวเตอร์เป็นผู้ก าหนด เพื่อให้ได้โปรแกรมที่ตรงตาม
วัตถุประสงค์การใช้งานในองค์กร
8. การน าข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็น 2 วิธีด้วยกันคือ
1) ผ่านอุปกรณ์น าเข้า (Input Device) ขึ้นอยู่กับรูปแบบของข้อมูล เช่น คีย์บอร์ด
(Keyboard) ส าหรับข้อมูลประเภทตัวอักษร หรืออักขระพิเศษ สแกนเนอร์ (Scanner) ส าหรับ
ข้อมูลประเภทภาพ ไมโครโฟน (Microphone) ส าหรับข้อมูลประเภทเสียง ฯลฯ
2) ผ่านสื่อเก็บบันทึกข้อมูลส ารอง (Secondary Storage) ซึ่งจะดึงเอาข้อมูลที่ได้
บันทึกหรือเก็บข้อมูลไว้ก่อนแล้วโดยใช้สื่อเก็บบันทึกข้อมูล ส ารอง เช่น ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk)
แฟลชไดรว์ (Flash Drive) หรือ แผ่นซีดี (Cd-rom) เครื่องคอมพิวเตอร์จะอ่านข้อมูลโดยอาศัย
เครื่องอ่านสื่อโดยเฉพาะ เช่น ซีดีรอมไดรว์ (Cd-rom Drive) พอร์ตยูเอสบี (USB Port) ฯลฯ
9. การท างานของระบบคอมพิวเตอร์มีความสัมพันธ์กันเป็นกระบวนการ คือ
การรับข้อมูลเข้า (Input) โดยสามารถผ่านทางอุปกรณ์ชนิดต่างๆ แล้วแต่ชนิดของข้อมูลที่
จะป้อนเข้าไป เช่น การพิมพ์ข้อความผ่านแป้นพิมพ์ (Keyboard) การเขียนภาพโดยใช้ปากกา
ชนิดพิเศษ การสแกนข้อความหรือภาพผ่านเครื่องสแกนเนอร์ หรือการเล่นเกมจะมีก้านควบคุม
(Joystick) ส าหรับเคลื่อนต าแหน่งของการเล่นบนจอภาพ เป็นต้น
การประมวลผลข้อมูล (Process) เมื่อน าข้อมูลเข้ามาแล้ว เครื่องคอมพิวเตอร์จะด าเนิน
การกับข้อมูลตามค าสั่งที่ได้รับมาเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ การประมวลผล อาจจะมี
ได้หลายอย่าง เช่น การค านวณหาผลรวม การจัดกลุ่มเรียงล าดับข้อมูล การหาค่ามากที่สุด หรือ
น้อยที่สุด เป็นต้น
การแสดงผลข้อมูล (Output) เป็นการน าผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาแสดงผ่านทาง
อุปกรณ์ที่ก าหนดไว้ โดยทั่วไปจะแสดงผ่านทางจอภาพ (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทาง
กระดาษโดยใช้เครื่องพิมพ์ เป็นต้น
การจัดเก็บข้อมูล (Storage) เป็นการน าข้อมูลที่ผ่านกระบวนการท างานทั้งการน าเข้า การ
ประมวลผลและการแสดงผลเรียบร้อยแล้วมาท าการบันทึกลงในอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล (Storage
Device) เช่น ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) แฟลชไดร์ว (flash drive) เมมโมรี่การ์ด (Memory
Card) แผ่นซีดี (Compact Disc) เพื่อให้สามารถน ากลับมาใช้ได้เมื่อต้องการ
10. ขั้นตอนในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ
1) การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis) เป็นกระบวนการศึกษาลักษณะและ
รายละเอียดที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์แก้ปัญหา จะต้องวิเคราะห์ปัญหาให้ละเอียดทุกขั้นตอน
เพื่อให้ทราบว่าจะแก้ปัญหาอะไร
2) การออกแบบโปรแกรม (Design) เป็นการแสดงขั้นตอนการท างานของโปรแกรม โดย
การน าปัญหาที่วิเคราะห์ได้ มาวางแผนแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน
3) การเขียนโปรแกรม (Programming) เป็นการน าเอาผลลัพธ์ของการออกแบบโปรแกรม