Page 7 - เอกสารประกอบการสอนพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
P. 7
7
2) โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program) โปรแกรมเฉพาะด้านเกี่ยวกับ
การจัดการทรัพยากรคอมพิวเตอร์ โดยท าหน้าที่เพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ให้ท างาน
ง่ายขึ้นเร็วขึ้น เช่น โปรแกรมป้องกันไวรัส โปรแกรมส ารองข้อมูล เป็นต้น
3) ดีไวซ์ไดเวอร์ (Device Driver หรือ Driver) โปรแกรมที่ออกแบบมาเพื่อให้
อุปกรณ์รับเข้า (Input Device) และอุปกรณ์ส่งออก (Output Device) สามารถติดต่อสื่อสารกับ
ระบบคอมพิวเตอร์ได้ เช่น ไดเวอร์เมาส์ ,ไดเวอร์คีย์บอร์ด, ไดเวอร์เครื่องพิมพ์ เป็นต้น
4) ตัวแปลภาษา (Language Translator) เป็นโปรแกรมส าหรับแปลชุดค าสั่งที่
เขียนโดยโปรแกรมเมอร์ให้อยู่ในรูปภาษาเครื่อง (Machine Language) ที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ เช่น แอ
สแซมเบลอร์ (Assembler) แปลภาษาแอสแซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง คอมไพเลอร์ (Compiler)
และ อินเตอร์พรีทเตอร์ (Interpreter) แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
1.2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง ชุดค าสั่งที่เขียน
ขึ้นมาเป็นโปรแกรมที่ท าให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เฉพาะอย่าง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ยัง
แบ่งได้อีก 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ส าหรับงานทั่วไป เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลผลค า ซอฟต์แวร์เพื่อ
การค านวณ ซอฟต์แวร์น าเสนองาน ซอฟต์แวร์การติดต่อสื่อสาร เป็นต้น
ซอฟต์แวร์น าเสนองาน ซอฟต์แวร์การติดต่อสื่อสาร ซอฟต์แวร์เพื่อการค านวณ
ภาพที่ 1.3 ซอฟต์แวร์ส าหรับงานทั่วไป
ที่มา: https://pixabay.com/th/photos/
และอีกประเภท คือ ซอฟต์แวร์ส าหรับงานเฉพาะด้าน ซึ่งจะท าขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเท่านั้น เช่น
โปรแกรมส าหรับควบคุมเครื่องจักรกล โปรแกรมซื้อ ขายสินค้า โปรแกรมเงินเดือน เป็นต้น
โปรแกรมส าหรับควบคุมเครื่องจักรกล โปรแกรมซื้อ ขายสินค้า โปรแกรมเงินเดือน
ภาพที่ 1.4 ซอฟต์แวร์ส าหรับงานเฉพาะด้าน
ที่มา: https://pixabay.com/th/photos/