Page 2 - การวางแผนงานวิจัย โครงร่างงานวิจัย
P. 2

ข. การสั่งงาน (Directing) ได้แก่ การมอบหมายงาน การควบคุม (control) เป็นต้น


                          ค. การควบคุมการจัดองค์กร (Organization Control) นับว่ามีความส าคัญอย่างยิ่ง
                   ส าหรับการด าเนินงาน เพื่อใช้ในการ สั่งการ และควบคุม ภาพของงานต่อไป โดยอาจท าเป็น

                   แผนภูมิการสั่งการ (chain of command) เพื่อวางโครงสร้าง ของทีมงานวิจัย ก าหนดขอบเขต

                   หน้าที่ ตลอดจนติดตามประเมินผล ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ และ/หรือ ท าเป็นแผนภูมิเคลื่อนที่
                   (flow chart) เช่น
                   ตัวอย่าง            สัมภาษณ์         ตรวจร่างกาย          ตรวจทางห้องปฏิบัติการ

                   แบ่งกลุ่ม          รับยา            กลับบ้าน

                          ง. การควบคุมโครงการ (Project Control) มีได้หลายวิธี เช่น ท าเป็นตารางปฏิบัติงาน
                   (time schedule) ซึ่งเป็น ตารางก าหนด ระยะเวลา ในการปฏิบัติงาน ของแต่ละกิจกรรม เพื่อ
                   ช่วยให้ การควบคุม เวลา และแรงงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และอาจ ช่วยกระตุ้นให้

                   ผู้วิจัย ท าเสร็จทันเวลา ซึ่งปกติจะใช้ Gantt’s chart

                   2.  Research Protocol & Proposal
                       โครงร่างงานวิจัย หรือ ข้อเสนอโครงการวิจัย  (Research proposal)เปรียบเสมือแม่บท

                   หรือข้อตกลง ระหว่างคณะผู้วิจัย และผู้ให้ทุน จึงควรพัฒนาขึ้น ก่อนที่จะเริ่มด าเนินการวิจัย เพื่อ
                   แสดงรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับการวิจัย ตั้งแต่ต้นจนจบ เพื่อเป็นหลักประกันต่อผู้ให้ทุนว่า จะ

                   ปฏิบัติตามขั้นตอนต่าง ๆ ในโครงร่างการวิจัยนั้นเพื่อให้ได้ผลงานวิจัย ที่ถูกต้อง และเชื่อถือได้
                   มากที่สุด ซึ่งอาจจะเรียกว่าเป็น Road Map ของการวิจัย
                                                                                  ้
                       โครงร่างการวิจัย มีประโยชน์คือจะท าให้ได้แนวด าเนินการวิจัยไปสู่เปาหมาย ท าให้ผู้วิจัย
                           ั
                                                                      ั
                                                               ้
                   คาดถึงปญหาไว้ล่วงหน้าสามารถเตรียมการเพื่อปองกันปญหา  มีการประมาณการค่าใช้จ่าย
                   เวลา  บุคลากร ช่วยให้ผู้วิจัย สามารถติดตาม นิเทศ ควบคุม  ก ากับงาน และประเมินผลการ
                   ด าเนินงานในแต่ละขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง นอกจากนี้

                       โครงร่างการวิจัย ยังเป็นเอกสาร ที่จะสื่อระหว่างผู้ร่วมวิจัย เพื่อให้เข้าใจในหลักการเดียวกัน
                   และสามารถปฏิบัติตามได้ถูกต้อง และเป็นเอกสารที่ใช้ในการเสนอขอรับทุนสนับสนุนดังนั้น

                   เนื้อหาของการเขียนโครงร่างงานวิจัยจึงต้องน่าสนใจ สามารถชักจูงให้ผู้อ่านโดยเฉพาะ
                   กรรมการจัดสรรทุนสนับสนุนการวิจัยเห็นถึงความจ าเป็น และประโยชน์ของการท าวิจัยนั้น

                       Protocol (เกณฑ์วิธีการท าวิจัย)
                          เกณฑ์วิธีการท าวิจัยเป็นเอกสารที่มีความคล้ายคลึงกับโครงร่างงานวิจัย ซึ่งเป็นเอกสาร

                   ที่พรรณนาถึงวัตถุประสงค์ รูปแบบ ระเบียบวิธีวิจัย สถิติที่ใช้ และที่ส าคัญคือรายละเอียดและ
                   ขั้นตอนการท างานวิจัยทั้งหมด  (ICH  Guidelines) โดยทั่วไปเกณฑ์วิธีท าวิจัยมักจะมีเนื้อหา

                   ข้อมูลมาก และเน้นการให้รายละเอียด  เกณฑ์วิธีการท าวิจัยเป็นเอกสารที่ต้องท าเพื่อให้ผู้ร่วม
                   วิจัยทราบว่าต้องท าอะไรบ้างแม้ว่าจะไม่ได้ใช้เพื่อการขอทุนสนับสนุน หากอาจจะต้องส่งให้








                                                                                                     2
   1   2   3   4   5   6   7