Page 6 - การวางแผนงานวิจัย โครงร่างงานวิจัย
P. 6

ั
                          ผู้วิจัยต้องสามารถแสดงให้เห็นว่า มีความรู้พื้นฐาน และเข้าใจ ในปญหาที่ก าลังจะศึกษา
                   อย่างถ่องแท้ ชัดเจน ทั้งทางทฤษฏี และปฏิบัติ ตลอดจนสามารถ ระบุได้ว่า มีการศึกษา
                   เกี่ยวกับเรื่องนี้ มาแล้วหรือยัง ที่ใดบ้าง และการศึกษาที่เสนอนี้ จะช่วยเพิ่มคุณค่า ต่องานด้านนี้
                   ได้อย่างไร

                       4)  ทบทวนวรรณกรรม (Literature Review)

                          การทบทวนวรรณกรรมมีความจ าเป็นมาก ก่อนที่จะท าการวิจัยผู้วิจัยต้องเข้าใจอย่าง
                   แท้จริง เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการท าวิจัย และตอบได้ว่างานวิจัยนั้นมีผู้ท าไว้แล้วหรือไม่ อย่างไร

                   โดยต้องมีการค้นคว้าอย่างละเอียด และรอบคอบ เมื่อค้นได้รายงานงานต่าง ๆ ออกมาแล้ว
                   ขั้นตอนต่อไปก็คือ ต้องประเมิน บทความอย่างมี และระบุช่องว่างและจุดอ่อนของการศึกษาก่อน

                   หน้า และระบุว่า เมื่อท าวิจัยเสร็จแล้ว จะน าผลการวิจัย ไปใช้ประโยชน์อย่างไรได้บ้าง
                          กุญแจสู่ความส าเร็จ

                            มีความครอบคลุม ครบถ้วนและทันสมัย มีจ านวนหรือปริมาณที่มากพอที่จะเป็นเหตุ
                   เป็นผลในด้านความจ าเป็นและความส าคัญที่จะต้องท าการวิจัยเรื่องนี้แต่ไม่จ าเป็นอ้างอิง

                   (recitation) ถึงทุกการศึกษาที่เคยท ามาก่อน

                            เป็นตรรกะ มีความเป็นเหตุเป็นผลเรียบเรียงและสังเคราะห์เป็นล าดับดี การจัด
                                                                       ั
                   หมวดหมู่และการเรียงล าดับเนื้อหาสาระเป็นเรื่องที่ส าคัญ ปญหาที่พบมากที่สุดก็คือมีการจัด
                   หมวดหมู่ที่สับสน ข้ามกันไปข้ามกันมา มีการซ ้าซ้อนกันไม่กลมกลืนกัน ไม่เป็นไปตามล าดับที่
                   ควรจะเป็น

                                                         ั
                            ระบุช่องว่างที่มีของความรู้ในปจจุบันโดยพรรณนาข้อโต้แย้งอย่างเป็นธรรม
                            ควรทบทวนนิพนธ์ต้นฉบับ และใช้แหล่งข้อมูลที่เป็นปฐมภูมิ พบว่าวรรณกรรมที่ใช้
                   ส่วนใหญ่ไม่ได้เป็นต้นฉบับ มีจ านวนมากที่ใช้การอ้างอิงต่อมาหลายทอด ควรบรรยายใน

                   ลักษณะ

                            การสรุปวิเคราะห์ จะต้องแสดงความคิดเห็นในเชิงวิพากษ์วิจารณ์โดยน ามา
                   เชื่อมโยงกับงานวิจัยที่ท าว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกันอย่างไร ไม่ควรน ารายงานเหล่านั้น มาย่อ หรือ
                   ยกเอาบทคัดย่อ (abstract) ของแต่ละบทความ มาปะติดปะต่อกัน เพราะจะท าให้เหตุผลต่าง ๆ

                   อ่อนลงไปมาก

                       5)  วัตถุประสงค์เฉพาะของงานวิจัย (Specific Study Objectives) และสมมติฐาน
                          ของการวิจัย (Hypothesis)

                          ในการเขียนโครงร่างงานวิจัยวัตถุประสงค์เป็นส่วนที่ผู้อ่านให้ความส าคัญมาก ผู้วิจัย
                   อธิบายสิ่งที่มุ่งหวังอย่างชัดเจน เฉพาะเจาะจง ไม่คลุมเครือ โดยบ่งชี้ถึง สิ่งที่จะท า ขอบเขต และ

                   ค าตอบที่คาดว่าจะได้รับ การตั้งวัตถุประสงค์ ต้องให้สมเหตุสมผล กับทรัพยากรที่เสนอขอ และ
                   เวลาที่จะใช้ โดยทั่วไป วัตถุประสงค์อาจจ าแนกได้เป็น 2 ชนิด คือ

                              -      วัตถุประสงค์ทั่วไป (general objective) จะกล่าวถึงสิ่งที่ คาดหวัง
                                     (implication)




                                                                                                     6
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11