Page 11 - การวางแผนงานวิจัย โครงร่างงานวิจัย
P. 11
จริยธรรม
iv. วิธีการจัดกลุ่มตัวอย่างให้ได้รับสิ่งทดลอง (Method of
assignment to study groups)
การจัดกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่ม (Random Allocation): การก าหนดให้กลุ่มตัวอย่าง
ได้รับสิ่งทดลองด้วยโอกาสอย่างเดียวหรือกลุ่มตัวอย่างจะได้รับสิ่งทดลองด้วยโอกาสที่เท่ากัน
้
เปาหมายของการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง: เพื่อให้เกิดโอกาสสูงที่สุดที่กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับสิ่ง
ทดลองต่างกันมีคุณลักษณะที่สามารถเทียบเคียงกันได้ (comparable)
้
เปาหมายของเทคนิคการสุ่มตัวอย่าง
การจัดการสุ่มที่แท้จริง (True random allocation)
ปราศจากการเหนี่ยวน า (Tamperproof)
การปิดบังการจัดการสุ่มตัวอย่าง (Allocation concealment)
วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
สลับผู้ได้รับสิ่งทดลองเช่นคนแรกได้รับสิ่งทดลอง คนต่อมาเป็นกลุ่มเปรียบเทียบ
สลับกันไปมา หรือ ใช้วันในสัปดาห์เป็นเกณฑ์ในการสุ่ม สองวิธีการนี้อาจท าให้เกิดอคติได้
เนื่องจากสามารถคาดเดาสิ่งที่กลุ่มตัวอย่างจะได้รับ
จับฉลากออกจากหมวก ใช้ตารางสุ่ม (Random number table) หรือ ใช้
คอมพิวเตอร์ช่วยสุ่ม (Computer generated) เป็นวิธีการที่ใช้มากในการสุ่มเนื่องจากท าให้ไม่
สามารถคาดเดาสิ่งที่กลุ่มตัวอย่างจะได้รับ
ในเกณฑ์วิธีการศึกษา(Protocol):
ต้องพรรณนาเทคนิคการสุ่มอย่างละเอียด
อธิบายให้เหตุผลถึงเทคนิคพิเศษที่ใช้เช่น การสุ่มแบบ stratification สุ่มแบบ
blocking หรือการสุ่มที่ใช้สัดส่วนที่แตกต่างกัน (disproportionate randomization)
- การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data collection)
ั
i. ตัวแปรของงานวิจัย หมายถึง ตัวแปรผลลัพธ์ ปจจัยท านาย ตัวแปรกวน
(variables: outcomes, predictors, confounders) ต้องระบุ
- ตัวแปรตามหรือตัวแปลผลลัพธ์ (ผลลัพธ์ที่เชื่อว่าจะเกิดขึ้น)
- ตัวแปรต้น หรือ ตัวแปรท านาย (สิ่งที่คาดว่าจะเป็นสาเหตุ)
- ตัวแปรกวนเป็นตัวแปรภายนอกที่ซึ่ง
ั
1) เป็นปจจัยเสี่ยงของตัวแปรผลลัพธ์
2) มีความสัมพันธ์กับตัวแปรท านาย
โดยให้ค านิยามเชิงปฏิบัติ ที่แน่นอน และชัดเจน และระบุว่า ตัวแปรอะไรบ้าง ตัวแปร
ต่าง ๆ ที่ก าหนดไว้นั้น จะวัดผลโดยใช้มาตร (scale) อะไร (ระดับแบ่งกลุ่ม, ระดับจัดอันดับ,
11