Page 7 - การวางแผนงานวิจัย โครงร่างงานวิจัย
P. 7

หรือสิ่งที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในระดับกว้าง จึงควรครอบคลุมงานวิจัยที่จะท าทั้งหมด
                              -      วัตถุประสงค์เฉพาะ (specific objective) จะพรรณนาถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นจริง

                   ในงานวิจัยนี้ โดยอธิบายรายละเอียดว่า จะท าอะไร โดยใคร ท ามากน้อยเพียงใด ที่ไหน เมื่อไร
                   และเพื่ออะไร โดยการเรียงหัวข้อ ควรเรียงตามล าดับความส าคัญ ก่อน หลัง

                       หลักการเขียนวัตถุประสงค์ที่ดี: สอดคล้องกับชื่อเรื่อง มีความชัดเจนว่าจะศึกษาอะไรบ้าง
                                 ั
                   ครอบคลุมทุกปญหาการวิจัย น าไปสู่การออกแบบการวิจัยได้ ไม่น าประโยชน์ที่คาดว่าจะได้
                   รับมาเขียน
                                                                                     ั
                      การตั้งสมมติฐาน เป็นการคาดคะเน (predict) หรือการทายค าตอบของปญหา อย่างมีเหตุผล

                   จึงมักเขียนในลักษณะการแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรอิสระ (independent variables)
                   และตัวแปรตาม (dependent variable)งานวิจัยบางชนิด ไม่จ าเป็นต้องมีสมมติฐาน เช่น การ

                   วิจัยขั้นส ารวจ (exploratory or formulative research) เป็นต้น

                       วัตถุประสงค์ของงานวิจัยและสมมุติฐานจะช่วย


                            แสดงให้ผู้อ่านหรือผู้ทบทวนงานวิจัยมีภาพชัดเจนเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้วิจัยอยากท าให้
                   ส าเร็จ

                            แสดงให้ผู้ทบทวนงานวิจัยเห็นว่าผู้วิจัยมีภาพชัดเจนเกี่ยวกับสิ่งที่อยากท าให้ส าเร็จ

                            เป็นการสร้างฐานให้กับส่วนที่เหลือทั้งหมดของโครงร่างงานวิจัย
                            จะถูกน าไปใช้ในการประเมินความเพียงพอและความเหมาะสมของระเบียบวิธีวิจัย

                       กุญแจสู่ความส าเร็จ

                         มีสมมุติฐานหลักหนึ่งหรือสองสมมุติฐานที่ โดยเน้นที่ค าถามส าคัญ
                         ชัดเจนและสอดคล้อง

                         มีการระบุแนวคิดหลัก/โครงสร้าง

                         น าเสนอตัวแปรต้นและตัวแปรตาม(ถ้ามี)

                         สามารถวัดได้

                         สมมุติฐานมีความชัดเจนในการท านายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
                         มีความเหมาะสมหรือมีความใหม่


                       6)  ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methods)

                              -      รูปแบบการวิจัย (Research Design) รูปแบบการวิจัย เปรียบเสมือน

                   โครงสร้างของบ้าน เป็นแผนของการวิจัยทั้งหมดที่ให้ได้มาซึ่งค าตอบของงานวิจัยหรือเพื่อ
                   ทดสอบสมมุติฐาน ส่วนระเบียบวิธีวิจัย (research methodology) เปรียบเสมือนการตกแต่ง

                   ภายใน ซึ่งจ าเป็นต้องสอดคล้องกับโครงสร้างของบ้าน (design)
                          การเลือกรูปแบบงานวิจัยขึ้นอยู่กับ





                                                                                                     7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12