Page 5 - การวางแผนงานวิจัย โครงร่างงานวิจัย
P. 5
5. แนวทางการเขียนโครงร่างงานวิจัย (PROPOSAL WRITING GUIDE)
1) ชื่อเรื่องหรือหัวข้องานวิจัย (Title) เป็นส่วนดึงดูดความสนใจจุดแรก ของโครงร่างการ
วิจัยหลักในการตั้งชื่อเรื่อง ท าได้โดยหยิบยกเอาค าส าคัญ (key words) ของเรื่องที่จะท าวิจัย
ั
ออกมาประกอบกันเป็นชื่อเรื่อง ควรตั้งชื่อเรื่องให้ ครอบคลุมประเด็น ตรงประเด็นปญหาการ
วิจัย สั้น ชัดเจน และมีความน่าสนใจ
2) ค าถามงานวิจัย (Study Problem) และเป้ าหมายทั่วไปของงานวิจัย
ั
ค าถามงานวิจัยในส่วนนี้หมายถึงประเด็นทางสุขภาพที่เป็นกังวลหรือเป็นปญหา มีความ
เป็นวิทยาศาสตร์ หาค าตอบได้ มีความเป็นเหตุเป็นผล เป็นตรรกะ ผู้วิจัยต้องก าหนดขึ้น และให้
ั
้
นิยามปญหานั้นอย่างชัดเจน เพราะจะช่วยให้ผู้วิจัย ก าหนดเปาหมาย และวัตถุประสงค์
ตั้งสมมติฐาน ให้นิยามตัวแปรที่ส าคัญ ๆ ตลอดจน การวัดตัวแปรเหล่านั้นได้ ถ้าผู้วิจัย ตั้ง
ค าถามที่ไม่ชัดเจน แม้แต่ตัวก็ยังไม่แน่ใจ ว่าจะศึกษาอะไร ท าให้การวางแผนในขั้นต่อไป เกิด
ความสับสนได้
ค าถามของการวิจัยต้องเหมาะสม (relevant) หรือสัมพันธ์ กับเรื่องที่จะศึกษา โดยควรมี
ค าถาม ที่ส าคัญที่สุด ซึ่งผู้วิจัย ต้องการค าตอบ มากที่สุด เพื่อค าถามเดียว เรียกว่า ค าถามหลัก
(primary research question) แต่ผู้วิจัย อาจก าหนดให้มี ค าถามรอง (secondary research
question (s) อีกจ านวนหนึ่งก็ได้ ซึ่งค าถามรองนี้ เป็นค าถาม ที่เราต้องการค าตอบ เช่นเดียวกัน
ั
แต่มีความส าคัญรองลงมา ผู้วิจัย อาจจ าเป็นต้องแสดงเหตุผล เพื่อสนับสนุนการเลือก ปญหา
การวิจัยดังกล่าว เพื่อให้โครงร่างการวิจัยนี้ น่าสนใจมากยิ่งขึ้น
้
้
เปาหมายทั่วไปของงานวิจัยในส่วนนี้หมายถึงข้อความกว้างๆที่บ่งชี้เปาหมายของงานวิจัย
้
ประเภทของเปาหมายที่แตกต่างกัน เช่น เป็นการส ารวจ (exploration) การพรรณนา
(description) การอธิบาย(explanation)การท านาย/ควบคุม (prediction/control)
้
้
หน่วยงานบางแห่งต้องการทราบถึงเปาหมายในภาพรวมของโครงการวิจัยได้แก่เปาหมายระยะ
ั
ยาวและวัตถุประสงค์เฉพาะของโครงการวิจัยปจจุบันหรือความส าเร็จที่โครงการวิจัยคาดหวัง
3) ที่มาความส าคัญของปัญหาวิจัย (Rationale/Relevance of the Project)
ในส่วนนี้ผู้วิจัยต้องอธิบายได้ว่าเหตุใดจึงควรที่จะต้องมีการท าวิจัยในเรื่องนี้โดยตอบค าถาม
ดังต่อไปนี้
a. การวิจัยนี้จะน าไปสู่การสร้างความรู้ใหม่หรือไม่
่
b. การวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้ปวย ท าให้เกิดความเข้าใจเพิ่มจากที่รู้อยู่แล้วหรือมีผลช่วย
ในการด าเนินนโยบายหรือไม่
ั
c. การวิจัยนี้จะลบช่องว่างของความรู้หรือแก้ไขข้อโต้แย้งในปจจุบันหรือไม่
กุญแจสู่ความส าเร็จ
หากค าตอบของค าถามด้านบนเป็นบวก 2 และ/หรือ 3 ข้อ
ั
ที่มาและความส าคัญของปญหาสอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงานที่
สนับสนุนทุนวิจัย
5