Page 62 - ชุดการสอนประวัติศาสตร์ม.1
P. 62

เป็นที่ราบเอียงลาดจากเชิงเขาไปยังแม่น ําใหญ่ มีลําธารเล็ก ๆ ไหลผ่าน ไปลงแม่น ํา จึงใช้ระบบชลประทาน

               แบบเหมืองฝายช่วยในการทํานา เรียกนาที่อาศัยการชลประทาน ชนิดนี ว่า นาเหมืองฝาย ดังปรากฏร่องรอย

               ของคันดินและหินชนวนที่ทําเป็นฝายกั นน ําที่แม่น ํา แม่ลําพันของกรุงสุโขทัย             2 )

               ท านบ คือ คันดินที่ทําขึ นเป็นแนวสําหรับกั นน ําหรือบังคับทิศทางของน ําที่มีมาก ในฤดูฝนให้ไหลไปตามทิศทาง

               ที่ต้องการ พบทั่วไปบนพื นที่เอียงลาดรอบนอกกรุงสุโขทัย ทํานบ ที่รู้จักกันดี คือ ทํานบเชื่อมระหว่างเขาพระ

               บาทใหญ่กับเขากิวอ้ายมา อยู่นอกกรุงสุโขทัย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ มีชื่อเรียกว่า ทํานบพระร่วง ทําหน้าที่

               เป็นน ําจากเขาทั งสองลูกให้ไปลง คลองเสาหอ เพื่อไหลไปสู่คูเมือง แล้วจึงชักน ําจากคูเมืองไปยังสระน ําในเมือง

               อีกต่อหนึ่ง




                                                               ในจารึกหลักที่ 1 ศิลาจารึกพ่อขุนรามคําแหง ด้านที่

                                                        3 มีข้อความตอนหนึ่งว่า “เบื อง หัวนอน (ทิศใต้) เมือง

                                                        สุโขทัยนี  มีกฎีพิหาร ปู่ครูอยู่ มีสรีดภงค์...”  คําว่า สรีดภงค์

                                                        นี ในจารึก สดกก็อกธมด้านภาษาสันสกฤตว่า สริทุกงค (สลิต

                                                        = น ํา,  ภังค - กั น) ตรงกับภาษาเขมรว่า ทํานบ คือที่กั นน ํา

                                                               แนวคันดินที่เรียกว่า ถนนพระร่วง ซึ่งมี 2 สาย สาย

                                                        หนึ่งจากกรุงสุโขทัยไปเมืองศรีสัชนาลัย อีกสายหนึ่งจาก

               สรีดภงค์ จังหวัดสุโขทัย เขื่อนดินที่เห็นในภาพ           เมืองกําแพงเพชรมายังกรุง สุโขทัย บางช่วงทําหน้าที่เป็น

               กรมชลประทานสร้างขึ้นใหม่ตามแนวคันดินเดิม         ทํานบด้วย เช่น ตอนที่พาดผ่านระหว่างเขาหลวงด้านหนึ่ง

               กับ ที่ตั งเมืองคีรีมาศ ช่วยกั นน ําป่าจากเขาหลวงให้ เบนทิศทางไปลงคลองระบายไปสู่แม่น ํายม ที่อยู่ถัดเมือง

               คีรีมาศไป เป็นการป้องกันเมือง คีรีมาศไม่ให้ถูกน ําท่วมกะทันหัน

                       อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาหลักฐานใหม่ เช่น ภาพจากดาวเทียม ทําให้นักวิชาการเชื่อว่า แนวคันดิน

               นี น่าจะเป็นแนวคลองชลประทาน และเป็นถนนด้วย

                       นอกจากนี ในจารึกหลักที่ 8 ศิลาจารึกภูเขาสุมนกูฏ จังหวัดสุโขทัย ด้านที่ 3 กล่าวถึง

               พระราชกรณียกิจของพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) อย่างหนึ่ง ที่ทรงปฏิบัติระหว่างประทับ ที่เมืองสองแคว

               (พิษณุโลก) ว่าทรงให้สร้างทํานบขนาดใหญ่ที่เรียกว่า พนัง จากเมืองสองแควไป ถึงกรงสุโขทัย เพื่อให้

               ประชาชนมีน ําทําการเกษตร และหาปลากินได้ง่าย



                       3) สระน าและบ่อน้ า จากการสํารวจทางโบราณคดีพบว่า ในกรุงสุโขทัยมีสระน ําและ บ่อน ํากว่า 200
               แห่ง สําหรับเก็บน ําไว้ใช้ในหน้าแล้ง และขุดพบท่อสังคโลกที่ใช้เชื่อมในสระ แต่ละแห่งด้วย
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67