Page 55 - การวิจัยทางการศึกษา
P. 55

54

               ค าถามที่อาจจะท าให้ผู้เก็บข้อมูลและผู้ให้ข้อมูลมีความสับสนและตอบไม่ตรงตามความเป็น

               จริงที่ควรจะเป็นซึ่งสิ่งเหล่านี้จัดว่าเป็นสิ่งที่ส าคัญในการด าเนินการวิจัย
                          การเก็บรวบรวมข้อมูลนั้น ผู้วิจัยต้องรู้จักการวางแผนในการเก็บรวบรวม
               ข้อมูลเป็นอย่างดี หากผู้วิจัยไม่ได้วางแผนในการเก็บรวบรวมข้อมูลท าให้มีความสับสนและ

               วุ่นวายมาก เนื่องจากการเก็บรวบรวมข้อมูลต้องเกี่ยวข้องกับประเด็นอื่น ๆ ซึ่งเป็น

               รายละเอียดปลีกย่อยอีกมากมายที่ผู้วิจัยจะต้องค านึงถึง เนื่องจากในการเก็บข้อมูลนั้นหาก
               ผู้วิจัยไม่มีการวางแผนที่ดีพอจะท าให้มีปัญหาที่ไม่สามารถที่จะย้อนกลับมาเก็บข้อมูลใหม่
               ได้ในบทนี้จึงได้เสนอวิธีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูล

               เพื่อให้ผู้วิจัยใช้เป็นแนวทางในการท าวิจัย


               กำรตรวจสอบคุณภำพของเครื่องมือวิจัย

                          เมื่อผู้วิจัยได้สร้างเครื่องมือตามแผนที่ได้ก าหนดไว้แล้ว ก่อนที่จะน าเครื่องมือ
               การวิจัยไปใช้จริง ผู้วิจัยต้องมีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือก่อน เพื่อให้มั่นใจได้ว่า

               เครื่องมือที่จะน าไปใช้ในสถานการณ์จริงจะไม่มีข้อบกพร่องใด ๆ อีก แต่หากตรวจสอบแล้ว
               พบว่าเครื่องมือยังมีข้อบกพร่อง ผู้วิจัยจะต้องปรับปรุงแก้ไขให้เครื่องมือดังกล่าวมี

               ประสิทธิภาพดีที่สุด เนื่องจากหากเครื่องมือการวิจัยไม่ดีพอจะท าให้ประสิทธิภาพของ
               งานวิจัยก็ลดน้อยลงไปด้วย
               ประโยชน์ของกำรตรวจสอบคุณภำพของเครื่องมือ

                          การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัยนั้นเป็นลักษณะของการตรวจสอบ

               ก่อนที่จะน าเครื่องมือไปใช้จริงและต้องมีการปรับปรุงแก้ไขให้เครื่องมือดังกล่าวมี
               ประสิทธิภาพสูงสุดจึงท าให้สรุปได้ว่าการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือมีประโยชน์ ดังนี้

                          1.   ลดควำมคลำดเคลื่อน
                            การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ  ช่วยลดความคลาดเคลื่อนของ

               ผลการวิจัยที่จะเกิดขึ้นในการวิจัยที่เกิดจากคุณภาพเครื่องมือวิจัยที่จะใช้เก็บรวบรวมข้อมูล
               เพราะได้ทดสอบความเชื่อถือได้ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น ความเที่ยงตรง ความเชื่อมั่นและอ านาจ

               จ าแนกของข้อมูลและคุณสมบัติอื่นๆ  ที่เกี่ยวข้อง
                          2.  ควำมชัดเจนของกำรใช้ภำษำ

                            ทราบความชัดเจนของการใช้ภาษา   ตั้งแต่ค าชี้แจงของเครื่องมือ
               เนื่องจากเครื่องมือบางประเภทต้องเก็บข้อมูลหลายด้าน  จึงท าให้มีรูปแบบของค าถามที่
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60