Page 56 - การวิจัยทางการศึกษา
P. 56
55
แตกต่างกัน ท าให้มีความซับซ้อนของข้อความที่ต้องชี้แจงให้ผู้ให้ข้อมูลเข้าใจก่อนที่จะตอบ
ค าถาม และความชัดเจนของการใช้ภาษาของเครื่องมือวิจัยว่าใช้ภาษาคลุมเครืออยู่ในข้อ
ใดบ้าง หรือบางครั้งผู้วิจัยอาจใช้ภาษาที่เป็นทางการมากเกินไปอาจจะไม่เหมาะกับกลุ่ม
ตัวอย่างบางกลุ่ม
3. ก ำหนดระยะเวลำในกำรเก็บข้อมูลได้ดีขึ้น
ท าให้ทราบว่าในการเก็บข้อมูลแต่ละครั้งนั้นควรจะใช้เวลาในการเก็บ
ข้อมูลมากน้อยแค่ไหนจึงจะเหมาะสม
4. ลดควำมซ้ ำซ้อนของข้อค ำถำม
ท าให้ทราบว่าเครื่องมือมีความซ้ าซ้อนในประเด็นใดบ้าง เนื่องจาก
เครื่องมือที่มีข้อค าถามซ้ าซ้อนจะท าให้เสียเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลและท าให้ผู้ตอบ
รู้สึกเบื่อไม่อยากตอบ
6. ช่วยประหยัดค่ำใช้จ่ำย
ในกรณีที่เป็นแบบสอบถามจะท าให้ทราบว่าช่องว่างที่เว้นไว้เพียงพอต่อ
ค าตอบที่จะได้รับหรือไม่ เนื่องจากถ้าเว้นช่องว่างไว้มากเกินไปจะท าให้สิ้นเปลืองกระดาษ
โดยใช่เหตุ เพราะถ้าหากผู้วิจัยเก็บข้อมูลเป็นจ านวนมาก ๆ จะท าให้เสียงบประมาณในการ
จัดท าแบบสอบถาม ในกรณีที่เป็นการสัมภาษณ์ก็สามารถวางแผนที่จะวางแผนการ
สัมภาษณ์ได้ดีขึ้น รู้จุดบกพร่องของการสัมภาษณ์ในแต่ละประเด็น
กระบวนกำรตรวจสอบคุณภำพของเครื่องมือ
ในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ผู้วิจัยต้องมีกระบวนการและขั้นตอนใน
การตรวจสอบคุณภาพอย่างมีระบบและด าเนินการไปตามขั้นตอน ดังนี้
1. ผู้วิจัยตรวจสอบด้วยตนเอง
ผู้วิจัยควรตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ การวิจัยด้วยตนเอง ก่อนที่จะ
น าเครื่องมือการวิจัยไปให้ผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจสอบในประเด็น ดังต่อไปนี้
1.1 ความครบถ้วนของข้อค าถามและความตรงประเด็นตาม
วัตถุประสงค์ ตัวแปรและสมมติฐาน การวิจัย
1.2 การตรวจสอบความถูกผิดของการพิมพ์ การจัดหน้า เรียงหน้า
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับค าชี้แจงต่าง ๆ