Page 65 - การวิจัยทางการศึกษา
P. 65

64

                            2.4  วิธีของคูเดอร์ – ริชาร์ดสัน  (Kuder – Richardson method) การ

               หาความเชื่อมั่นด้วยวิธีนี้เป็นการหาความสอดคล้องภายในของเครื่องมือวิจัย   เรียกกันว่า
               เป็นการหาค่าความเชื่อมั่น แบบ KR  และ KR  วิธีการในการหาความเชื่อมั่นวิธีนี้จะใช้
                                                       21
                                              20
               กับลักษณะของข้อสอบแบบตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน โดยจะใช้เครื่องมือ
               วิจัย 1 ชุด สอบกับกลุ่มตัวอย่างเพียงอย่างเดียว ลักษณะการหาความเชื่อมั่นประเภทนี้จึง

               เหมาะสมที่จะใช้กับแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์แบบปรนัย 4 หรือ 5 ตัวเลือกหรือข้อค าถาม
               ปรนัยแบบถูก – ผิด





                            สูตร

                            KR  =            N      1 – Σpq
                                20
                                                             2
                                          N – 1               S t

                                  KR   หมายถึง  สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นของเครื่องมือที่ใช้ใน
                                    20
               การวัด

                                P       หมายถึง  สัดส่วนของผู้ที่ตอบถูก

                                q       หมายถึง  (1 – P) หรือ สัดส่วนของคนท าผิดในแต่ละข้อ
                                   2
                                  S t  หมายถึง  ความแปรปรวนของคะแนนจากทุกข้อค าถาม
                                  N     หมายถึง  จ านวนข้อค าถามทั้งหมด



                          สูตร KR นั้น เพ็ญแข  แสงแก้ว (เพ็ญแข   แสงแก้ว,2541 หน้า  119) ได้
                                 20
               กล่าวไว้ว่า การจะใช้ข้อมูลหรือคะแนนที่เป็นสัดส่วนของผู้ตอบถูกและตอบผิดจากกลุ่มที่รับ
               การทดสอบทั้งหมด ค่าความเชื่อถือได้จะสูงและมีประสิทธิภาพสูงกว่า KR
                                                                           21


                            สูตร KR
                                    21

                                  KR   =     N         1 – X  (N –  X)

                                    21
                                          N – 1                   N6 T
                                                                   2
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70