Page 211 - การเป็นผู้ประกอบการ_Neat
P. 211
205
1. กลุ่มเป้าหมายหลัก จากผลการสํารวจพบว่ากลุ่มผู้บริโภควัยทํางานจนถึงผู้บริหาร
ระดับกลางถึงระดับ (ช่วงอาย 25-59 ปี) ส่วนใหญ่ต้องการทดลองดื่มน้ําสมุนไพรและมีแนวโน้มที่จะดื่ม
เครื่องดื่มสมุนไพรสม่ําเสมอ และ ผู้บริโภคกลุ่มใหญ่ที่มีพฤติกรรมการบริโภคใกล้เคียงกัน
การวางตําแหน่งของผลิตภัณฑ์ (Positioning) จากกลุ่มเป้าหมายที่กําหนดและจากลักษณะ
โดยรวมของผู้บริโภค
1.1 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ จะต้องพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ออกมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้าง
ความแตกต่างและป้องกัน การลอกเลียนแบบ รวมทั้งสร้างความสามารถในการแข่งขันได้ ดังนี้
1) เก็บข้อมูลความต้องการของผู้บริโภค และความคิดเห็นต่อผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์และ
ลักษณะของร้านทุก 6 เดือน เพื่อนํามาใช้ปรับปรุงผลิตภัณฑ์เดิม และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ให้ถูกปากผู้บริโภค
มากยิ่งขึ้น
2) พัฒนาสูตรที่ใช้ผลิตเครื่องดื่มสมุนไพรชนิดใหม่ที่ไม่มีผู้ขายรายใดนํามาผลิต ทั้งด้าน
สัดส่วนของ สมุนไพรแต่ละชนิดที่ต้องใช้และปริมาณน้ําตาล จากนั้นทําการทดลองผลิตเครื่องดื่มสมุนไพรตาม
สูตรที่พัฒนาขึ้นมาทดสอบกับ คุมควอย่างและสอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างเพื่อนํามาปรับปรุง
จนกว่าจะสามารถนําออกจําหน่ายได้
3) นําข้อมูลที่สํารวจจากผู้บริโภคที่เก็บ ณ จุดขายมาผนวกกับข้อมูลที่บริษัทสํารวจตลาดจาก
ผู้บริโภค
น้าสิรามัน เป็นผลไม้ในวงศ์เดียวกันกับลิ้นจี่ ได้จากผลสุกเป็นแหล่งวิตามินซี แคลเซียมและ
โดยมีแผนการพัฒนาให้เป็นเครื่องดื่มในกลุ่มสรรพคุณบํารุงผิวพรรณ
มะปราง จะใช้ผลสุกมาทําเป็นเครื่องดื่ม ให้ประโยชน์ของวิตามินซี เอ ฟอสฟอรัสและ
แคลเซียม โดยมี นาโดยนําไปผสมกับเครื่องดื่มในกลุ่มสรรพคุณบํารุงผิวพรรณ
น้าพลับสด ได้จากผลสุกเป็นยาธาตุแก้ท้องเดิน โดยมีแผนการพัฒนาโดยนําไปผสมสรรพคุณ
ระบาย ช่วยแก้ท้องผูก
4) ชาโมไมล์ ใช้ดีมแทนชาดําและกาแฟ โดยใช้ดอกและมียอดปนด้วยจะช่วยลดความขม
5) น้ําแก้วมังกร ใช้เนื้อลูกแก้วมังกร มีรสหวานอมเปรี้ยวเป็นแหล่งของวิตามินซียังกร มีรส
หวานอมเปรี้ยวเป็นแหล่งของวิตามินซี แคลเซียม ธาตุเหล็ก
6) กลยุทธ์ด้านราคา (Price) เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายหลักจะเน้นกลุ่มวัยทํางานผู้บริหาร
ระดับ