Page 132 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 132

หน้า ๑๒๐                                                                             ส่วนที่ ๓



                             - วันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๖๔ ได้ เสนอร่างวาระแห่งชาติ เรื่อง การป้องกันและแก้ไขปัญหา

               การข่มขืนกระท าช าเราและการล่วงละเมิดทางเพศ ต่อที่ประชุมคณะกรรมการนโยบายและยุทธศาสตร์
                     ั
               การพฒนาสถานภาพสตรีแห่งชาติ (กยส.) ครั้งที่ ๒/๒๕๖๔ โดยที่ประชุมมีมติมอบหมายผู้ทรงคุณวุฒิ
               ด้านกฎหมาย และฝ่ายเลขานุการปรับปรุงร่างวาระแห่งชาติฯ โดยให้ปรับปรุงในส่วนที่เป็นข้อกฎหมาย กลยุทธ์
               แนวทางและกิจกรรม ส าหรับขับเคลื่อนวาระแห่งชาติรวมถึงให้จัดท าแผนปฏิบัติการตาม ร่างวาระแห่งชาติ
               เรื่อง การป้องกันและแก้ไขปัญหาการข่มขืนกระท าช าเราและการล่วงละเมิดทางเพศ โดยเสนอที่ประชุม

                                                                ิ
               คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาสถานภาพสตรี (กสส.) พจารณาก่อนเสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการนโยบาย
               และยุทธศาสตร์การพัฒนาสถานภาพสตรีแห่งชาติ (กยส.)

                             - ช่วงระหว่างเดือน ตุลาคม ๒๕๖๔ - มีนาคม ๒๕๖๕ กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
               ได้มีการด าเนินการจัดประชุมหารือร่วมกับ ศาสตราจารย์ณรงค์  ใจหาญ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย
                                                       ั
                                                                                          ื่
               คณะกรรมการนโยบายและยุทธศาสตร์การพฒนาสถานภาพสตรีแห่งชาติ (กยส.) เพอปรับปรุง ร่างวาระ
               แห่งชาติฯ ในส่วนที่เป็นข้อกฎหมาย กลยุทธ์ แนวทางและกิจกรรม ส าหรับขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ และประสาน
               รวบรวมข้อมูลจากภาคส่วนต่าง ๆ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และนักวิชาการ เพอยก ร่างแผนปฏิบัติการตาม
                                                                                   ื่
               ร่างวาระแห่งชาติฯ
                             - วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๕ ได้เสนอร่างวาระแห่งชาติ เรื่อง การป้องกันและแก้ไขปัญหา
               การข่มขืนกระท าช าเราและการล่วงละเมิดทางเพศ ฉบับปรับปรุงตามมติที่ประชุมคณะกรรมการนโยบาย

                                   ั
               และยุทธศาสตร์การพฒนาสถานภาพสตรีแห่งชาติ (กยส.) ครั้งที่ ๒ /๒๕๖๔ ต่อที่ประชุมคณะกรรมการ
               ส่งเสริมการพฒนาสถานภาพสตรี (กสส.) ครั้งที่ ๑/๒๕๖๕ โดยที่ประชุมมีมติ มอบหมายฝ่ายเลขานุการ
                            ั
               แก้ไขปรับปรุงร่างแผนปฏิบัติการเพอการป้องกันและแก้ไขปัญหาการข่มขืนกระท าช าเราและการล่วงละเมิด
                                              ื่
               ทางเพศให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น โดยให้ปรับปรุงตัวชี้วัดให้มีความสอดคล้องกับค่าเป้าหมายที่ก าหนดไว้

               ในแผน โดยกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ได้เสนอขอวาระการประชุมจากประธานกรรมการนโยบาย
                                   ั
               และยุทธศาสตร์การพฒนาสถานภาพสตรีแห่งชาติ เพอจัดประชุมคณะกรรมการนโยบายและยุทธศาสตร์
                                                               ื่
                     ั
               การพฒนาสถานภาพสตรีแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๗ เมษายน ๒๕๖๕ ซึ่งต่อมา นายจุรินทร์  ลักษณวิศิษฏ์
               รองนายกรัฐมนตรี ได้ประกาศลาออกจากประธานกรรมการนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสถานภาพ
               สตรีแห่งชาติ (กยส.) เมื่อวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๖๕ ขณะนี้อยู่ระหว่างรอประธานกรรมการนโยบาย

               และยุทธศาสตร์การพัฒนาสถานภาพสตรีแห่งชาติ (กยส.) คนใหม่นัดประชุม
                           ๒. ส่วนของเนื้อหาร่างวาระแห่งชาติ เรื่อง การป้องกันและแก้ไขปัญหาการข่มขืนกระท าช าเรา
               และการล่วงละเมิดทางเพศ มีเนื้อหาประกอบด้วย ๕ บท โดยบทที่ ๑ บทน า บทที่ ๒ แนวคิดและสถานการณ์

               ในประเทศไทย บทที่ ๓ ข้อเสนอแนะในการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ บทที่ ๔ กลยุทธ์และแนวทาง และบทที่ ๕
               การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ

                                             ื่
                           ๓. แผนปฏิบัติการเพอการป้องกันและแก้ไขปัญหาการข่มขืนกระท าช าเราและการล่วงละเมิด
               ทางเพศ มี ๓ กลยุทธ์ ประกอบด้วย กลยุทธ์ที่ ๑ ปรับความรู้และทัศนคติของสังคม กลยุทธ์ที่ ๒ ปรับปรุง
                           ื่
               ระบบงานเพอสร้างความเป็นธรรม และกลยุทธ์ที่ ๓ ปรับมาตรการทางวินัย กฎหมายและกระบวนการ
               ยุติธรรมเพื่อให้ความช่วยเหลือผู้เสียหาย รายละเอียดปรากฏตามเอกสารประกอบการประชุม
                           ๔. เดิมได้มีมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวข้องกับกระบวนการแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดและการคุกคาม

               ทางเพศในสถานที่ท างานแล้วเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยมีมาตรการออกมาบังคับใช้ในหน่วยงานภาครัฐ
               ๑๒ มาตรการ และทุกหน่วยงานต้องออกมาประกาศเจตนารมณ์อย่างจริงจังในการด าเนินการในเรื่องนี้
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137