Page 137 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 137

ส่วนที่ ๓                                                                           หน้า ๑๒๕



                           ๕. กรณีการด าเนินการในชั้นสอบสวนของต ารวจในการให้ความยุติธรรมต่อประชาชนไม่ว่าจะเป็น

               ผู้เสียหาย ผู้ต้องหาหรือว่าผู้ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเจ้าหน้าที่ต ารวจผู้เป็นเจ้าของส านวนคดีหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
               ไม่ให้ความร่วมมือและไม่มีความใส่ใจในการให้ข้อมูลในการติดต่อสื่อสารเท่าที่ควร

                             ผู้แทนผู้บัญชาการต ารวจแห่งชาติ ได้ตอบข้อซักถามต่อที่ประชุมว่า ประเด็นเรื่องความร่วมมือ
               ในการสอบสวนคดี ซึ่งพนักงานสอบสวนในแต่ละโรงพักมีความยากล าบากในการปฏิบัติหน้าที่จากกรณีที่ใช้
                          ื่
                                                             ื่
               โทรศัพท์เพอโทรไปติดต่อกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับคดีเพอขอความร่วมมือต่าง ๆ ต ารวจไม่ได้รับความร่วมมือ
               เนื่องจากประชาชนเกรงว่าเจ้าหน้าที่ต ารวจอาจจะเป็นมิจฉาชีพที่มาในรูปแบบของ Call center จึงท าให้
               เกิดปัญหาและอุปสรรคต่อความยากล าบากในการปฏิบัติงานและไม่ได้รับความร่วมมือจากประชาชน

               เท่าที่ควร
                           ๖. ส านักงานต ารวจแห่งชาติมีนโยบายและแนวทางการส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ต ารวจหญิงเข้าสู่
               ต าแหน่งพนักงานสอบสวนหญิงในคดีความผิดเกี่ยวกับเพศหรือการเพมอัตราก าลังพลให้เพยงพอต่อ
                                                                                ิ่
                                                                                                    ี
               สถานการณ์ปัจจุบันที่ขาดแคลนอยู่หรือไม่ อย่างไร และจากข้อมูลการเข้ามาด้วยการสอบแข่งขันคัดเลือก
               จากบุคคลภายนอกขอให้พิจารณาเงื่อนไขต าแหน่งที่รับเข้ามาควรจะเป็นการสอบแข่งขันเพื่อเข้ามาเฉพาะ

                                                        ื่
                                                              ี
               ต าแหน่งพนักงานสอบสวนหญิงโดยตรง เพอให้เพยงพอต่อสถานการณ์ของคดีความผิดเกี่ยวกับเพศ
               และความขาดแคลนในขณะนี้
                             ผู้แทนผู้บัญชาการต ารวจแห่งชาติ ได้ตอบข้อซักถามต่อที่ประชุมว่า ส านักงานต ารวจแห่งชาติ

               มีนโยบายการเพิ่มอัตราก าลังพลในต าแหน่งพนักงานสอบสวนหญิงรวมถึงเจ้าหน้าที่ต ารวจหญิงในฝ่ายอื่น ๆ ด้วย
               เพราะส านักงานต ารวจแห่งชาติได้เล็งเห็นถึงความเท่าเทียมกันทางเพศและความเข้าใจในงานที่ต้องจ าเป็น

               ในการใช้ต ารวจหญิงในการปฏิบัติหน้าที่ จากการศึกษาจากหลายประเทศในกลุ่มอาเซียนว่ามีต ารวจหญิง
               มากกว่าประเทศไทย เช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซีย ซึ่งหลักศาสนาของมุสลิมจ าเป็นต้องใช้

               ต ารวจหญิงเยอะกว่าประเทศไทย แต่เดิมนั้นส านักงานต ารวจแห่งชาติมีสัดส่วนของต ารวจหญิง ประมาณ
               ๕ เปอร์เซ็นต์ ของข้าราชการต ารวจทั้งหมด และเพิ่มขึ้นในทุกปีจนปัจจุบันมีสัดส่วนอยู่ที่ประมาณ ๑๐ เปอร์เซ็นต์
                                                                                              ิ่
               ของข้าราชการต ารวจทั้งหมด ในส่วนของพนักงานสอบสวนหญิงมีความพยายามที่จะเพมสัดส่วนในทุกปี
               ซึ่งในปีล่าสุดเป็นการรับเข้ามาด้วยการสอบแข่งขันคัดเลือกจากบุคคลภายนอกทั้งเพศหญิงและเพศชาย
               แต่จะมีสัดส่วนของเพศหญิงน้อยกว่าเพศชาย เนื่องจากมีการสมัครและสอบได้ของเพศหญิงที่น้อยกว่า

               ซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่างฝึกอบรมและจะสามารถบรรจุได้ในอีกประมาณ ๑๐ เดือนข้างหน้า และจากข้อห่วงใย
               ของที่ประชุมในกรณีการรับสมัครต ารวจใหม่ในแต่ละปี ส านักงานต ารวจแห่งชาติได้ให้ความส าคัญกับ
               สายงานสอบสวนเป็นล าดับแรก ซึ่งได้มีการปรับปรุงคุณสมบัติเฉพาะต าแหน่งครั้งล่าสุดในปี ๒๕๖๑

                                        ั
               ก าหนดให้ ต ารวจในโรงพกทุกต าแหน่งจะต้องเคยผ่านงานสอบสวนก่อนที่จะเลื่อนขึ้นสู่ต าแหน่งอื่น
               ซึ่งจะเป็นการแก้ปัญหาในสายงานสอบสวนตามที่ที่ประชุมมีความห่วงใย

                           ๗. จากวาระแห่งชาติ เรื่อง การป้องกันและแก้ไขปัญหาการข่มขืนกระท าช าเราและการล่วงละเมิด
                                                                 ื่
               ทางเพศ ซึ่งมีประเด็นการปรับกระบวนการยุติธรรมเพอคุ้มครองสิทธิและสวัสดิภาพของผู้เสียหายให้มี
               ประสิทธิภาพ โดยมีเป้าหมายเพอมีแนวปฏิบัติคุ้มครองสิทธิและสวัสดิภาพของผู้เสียหายที่มีมาตรฐาน
                                             ื่
               ซึ่งจากการประชุมของคณะกรรมาธิการที่ผ่านมาพบว่า ปัญหาใหญ่ที่พบมากที่สุดในประเด็นนี้ คือ ปัญหา
               การสอบสวนคดีความผิดเกี่ยวกับเพศ ซึ่งทางส านักงานต ารวจแห่งชาติประสบปัญหาอะไร อย่างไร และจะมี

               นโยบายอย่างไรที่จะน าไปสู่แนวทางการสอบสวนคดีความผิดเกี่ยวกับเพศที่เป็นไปตามวาระแห่งชาติในเรื่องนี้ด้วย
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142