Page 134 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 134

หน้า ๑๒๒                                                                             ส่วนที่ ๓



                           ๖. คณะกรรมาธิการขอฝากความหวังไว้กับวาระแห่งชาติ เรื่อง การป้องกันและแก้ไขปัญหา

               การข่มขืนกระท าช าเราและการล่วงละเมิดทางเพศ ที่จะท าให้เกิดความร่วมมือกันในการท างานระหว่าง
               หน่วยงานต่าง ๆ รวมถึงการผลักดันให้เกิดผลในทางปฏิบัติ เกิดการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องและเห็น
               ทิศทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกันของทุกภาคส่วนในอนาคต

                                                                             ี
                           ๗. ศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน ๑๓๐๐ มีบุคคลากรไม่เพยงพอ และบางส่วนไม่มีความช านาญ
               ในด้านกฎหมาย การให้ค าปรึกษา และมีบางส่วนใช้ถ้อยค าที่ไม่เหมาะสมในการสอบถาผู้เสียหาย ยังไม่มี
               ความเข้าใจหรือมีความเชี่ยวชาญพอในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความผิดเกี่ยวกับเพศ เช่น ใช้ค าถามว่า “ต้องมี

               หลักฐานนะ” “จริงหรือเปล่า” “ท าไมไม่ไปแจ้งความฯ” เหล่านี้ต้องเปลี่ยนถ้อยค าที่เหมาะสมทั้งสิ้น และ
               การสร้างภาคีเครือข่ายเข้ามาช่วยกันท างานในศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน ๑๓๐๐ ยังไม่มีความชัดเจน
                                                                                   ื่
                          ั
                                                             ั
               ควรมีการพฒนางานในด้านนี้รวมถึงการประชาสัมพนธ์ให้ประชาชนทราบเพอเข้ามาใช้บริการมากขึ้นด้วย
               ไม่ใช่เพียงภารกิจสงเคราะห์แต่เป็นทุกเรื่องที่เกี่ยวกับสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
                           ๘. กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ต้องเป็นหน่วยงานบริหารจัดการปัญหาจนเสร็จสิ้น
               กระบวนการ ตั้งแต่กระบวนการยุติธรรมที่จะน าตัวผู้กระท าผิดมารับโทษ มีการช่วยเหลือทั้งในด้านคดีความ

               เจ้าหน้าที่ต ารวจ ทนายความ อรรถคดีต่าง ๆ และกระบวนการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังมีหลาย
               หน่วยงานที่มีภารกิจหน้าที่เกี่ยวข้องกับผู้เสียหาย ทั้งในส่วนงานหรืออาชีพของผู้เสียหาย สุขภาพอนามัย
               ด้านสังคมสงเคราะห์ ด้านครอบครัว เครือข่ายที่ให้การช่วยเหลือ เหล่านี้ล้วนแต่ต้องใช้กระบวนการในการ
               บริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพทั้งสิ้น

                                                                                    ิ
                           ต่อมา ได้เชิญผู้บัญชาการต ารวจแห่งชาติ มาให้ข้อมูลประกอบการพจารณาของคณะกรรมาธิการ
                                                                        ั
               สืบเนื่องจากด าเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพนธ์ ๒๕๖๔ เรื่อง แนวทางป้องกันและแก้ไข
               ปัญหาการข่มขืนกระท าช าเราและการล่วงละเมิดทางเพศในภาพรวม และที่ประชุมได้ร่วมกันตั้งข้อสังเกต

               เกี่ยวกับกระบวนการสอบสวนความผิดเกี่ยวกับเพศที่ต้องมีพนักงานสอบสวนที่เป็นสตรี เป็นเรื่องส าคัญ
               ที่ไม่ควรถูกละเลยและต้องมีสตรีเข้าไปมีส่วนร่วมมากที่สุดเพราะผู้หญิงจะมีความละเอียดอ่อนและเข้าใจ
               ความเป็นผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย และอาจมีการพฒนาไปถึงเพศทางเลือกที่มีความเข้าใจในเรื่องนี้ด้วย อีกทั้ง
                                                         ั
               ยังมีความเห็นว่า ส านักงานต ารวจแห่งชาติ ควรมีแนวนโยบายที่ชัดเจนในการแบ่งหน้าที่ภารกิจความรับผิดชอบ
               ของพนักงานสอบสวนหญิง ไม่ให้เกิดภาระหนักจนเกินไปและถูกระบบงานผลักดันให้ออกจากงานในเรื่อง
               ที่เกี่ยวข้องกับสตรีโดยตรงที่มีความละเอียดอ่อน และต้องมีนโยบายที่ชัดเจนในการพฒนาพนักงาน
                                                                                               ั
               สอบสวนหญิงในปัจจุบันและในอนาคตว่าจะด าเนินการในเรื่องนี้อย่างไร สรุปสาระส าคัญ ได้ดังนี้
                           ผู้แทนผู้บัญชาการต ารวจแห่งชาติ ได้ให้ข้อมูลต่อที่ประชุมว่า ส านักงานต ารวจแห่งชาติ
               ได้เล็งเห็นถึงความส าคัญเกี่ยวกับการด าเนินคดีเกี่ยวกับเพศหรือคดีที่เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชน
               ซึ่งกฎหมายก าหนดให้มีพนักงานสอบสวนด าเนินการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในส่วนของพนักงาน

                                                                       ิ่
                                                                                            ั
               สอบสวนทางส านักงานต ารวจแห่งชาติไม่ได้นิ่งนอนใจในการเพมอัตราก าลังหรือการพฒนาประสิทธิภาพ
               ของพนักงานสอบสวนหญิงแต่อย่างใด ปัจจุบันส านักงานต ารวจแห่งชาติมีพนักงานสอบสวนทั้งหมด จ านวน
               ๑๑,๖๐๗ นาย แบ่งเป็นพนักงานสอบสวนหญิง จ านวน ๗๖๓ นาย ซึ่งมีต าแหน่งและชั้นยศลดหลั่นกัน

               ออกไป โดยสายงานสอบสวนจะมีชั้นยศสูงสุดถึงพันต ารวจเอก จากข้อมูลข้างต้นนับว่าพนักงานสอบสวนมี
               จ านวนที่ยังขาดแคลนอยู่และส านักงานต ารวจแห่งชาติได้มีแผนในการผลิตพนักงานสอบสวนทั้งเพศหญิง
               และเพศชายอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยมีนโยบายในการผลิตอัตราก าลังพนักงานสอบสวนจาก ๓ สัดส่วน คือ

               ๑) นักเรียนนายร้อยต ารวจที่จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยต ารวจ ประมาณ ๓๐๐ นาย ซึ่งในแต่ละปี
               อาจจะมีจ านวนไม่เท่ากัน ๒) การสอบแข่งขันคัดเลือกจากบุคคลภายนอกที่มีวุฒิปริญญาตรี สาขานิติศาสตร์
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139