Page 175 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 175

ส่วนที่ ๓                                                                           หน้า ๑๖๓



                   พิจารณาเรื่องร้องเรียนจากเครือข่ายกะเหรี่ยงเพื่อวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ภาคตะวันตก

                        เรื่อง ขอให้ช่วยประสานติดตามแก้ไขปัญหาไม่ให้เกิดความรุนแรงและการละเมิด
                            สิทธิมนุษยชนกับกรณีชาวกะเหรี่ยงบางกลอยขอกลับขึ้นไปพื้นที่ดั้งเดิม



                           คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลาย
               ทางเพศ ได้พิจารณาเรื่องร้องเรียนจากเครือข่ายกะเหรี่ยงเพื่อวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ภาคตะวันตก เรื่อง
               ขอให้ช่วยประสานติดตามแก้ไขปัญหาไม่ให้เกิดความรุนแรงและการละเมิดสิทธิมนุษยชนกับกรณีชาวกะเหรี่ยง

                                                         ิ
               บางกลอยขอกลับขึ้นไปพนที่ดั้งเดิม โดยการพจารณาดังกล่าว เชิญผู้แทนกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
                                      ื้
               และสิ่งแวดล้อม เข้าร่วมประชุมเพื่อให้ข้อเท็จจริง ข้อมูลและข้อคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับ ประเด็นการพิจารณา
               โดยอ้างถึงค าพพากษาของศาลปกครองสูงสุด กรณีการท าลายทรัพย์สินและสิ่งปลูกสร้างของชาวบ้าน
                             ิ
               กลุ่มชาติพนธุ์ที่อยู่อาศัยในอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ของเจ้าหน้าที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
                         ั
               และสิ่งแวดล้อม และเกี่ยวข้องกับกรณีกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงพื้นที่บางกลอย โดยมีสาระส าคัญ คือ

                           ๑. การใช้อ านาจของเจ้าหน้าที่กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ในกรณีขับไล่ราษฎร
               ชาวกะเหรี่ยง ซึ่งเกินกว่าเหตุและใช้ดุลยพนิจในการปฏิบัติงานไม่ถูกต้องเหมาะสม ซึ่งตามแนวทาง
                                                       ิ
               มาตรการที่เหมาะสมนั้นจะต้องมีการแจ้งเตือนให้ย้ายที่อยู่อาศัยพร้อมกับให้ระยะเวลา และให้จ่าย
               ค่าสินไหมทดแทน อย่างไรก็ตาม ศาลพิจารณาแล้วเห็นว่า เจ้าหน้าที่ของรัฐมีการปฏิบัติหน้าที่ด้วยจิตส านึก
               ในการท างาน ดังนั้น จึงให้หน่วยงานต้นสังกัดพจารณาด าเนินการทางวินัยต่อบุคลากรดังกล่าว ต่อมา
                                                           ิ
               หน่วยงานต้นสังกัดจึงได้ให้บุคลาดรดังกล่าวจ่ายค่าสินไหมชดเชยแก่ประชาชน
                           ๒. พื้นที่ที่เป็นประเด็นในการฟ้องร้อง เป็นพื้นที่ห่างไกล อยู่บริเวณชายแดน ใช้เวลาเดินเข้าไป

               ประมาณ ๓ - ๕ วัน โดยพนที่บ้านโป่งลึก – บางกลอย เป็นส่วนหนึ่งของเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
                                       ื้
                                                                        ื้
                                                    ื้
               ในบริเวณป่าต้นน้ าแม่น้ าเพชรบุรี ใกล้พนที่ใจแผ่นดิน ซึ่งเป็นพนที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์
               และมีความอ่อนไหวด้านความมั่นคง เนื่องจากอยู่ชิดแนวเขตชายแดน
                                                                                                      ้
                           ๓. อย่างไรก็ตาม ศาลปกครองสูงสุดเห็นว่า เมื่อประชาชนกลุ่มชาติพนธุ์กะเหรี่ยงผู้ฟองร้อง
                                                                                        ั
               ไม่มีสิทธิที่จะอยู่อาศัยในที่ดินพพาท เนื่องจากที่ดินพพาทอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
                                             ิ
                                                                  ิ
                      ้
               และผู้ฟองร้องไม่มีหนังสือส าคัญแสดงสิทธิในที่ดิน หรือหลักฐานแสดงการได้รับอนุญาตจากทางราชการ
               ให้ครอบครองท าประโยชน์ในที่ดินดังกล่าวโดยชอบด้วยกฎหมาย จึงไม่อาจก าหนดค าบังคับให้กลุ่มราษฎร
               ดังกล่าวกลับไปอยู่อาศัยและท ากินในพื้นที่เดิมได้

                           ในการนี้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพนธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                                                                 ั
               ยืนยันว่า การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ไม่ได้เป็นการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติหรือลดทอนคุณค่าของราษฎร

               กลุ่มชาติพันธุ์ แต่เจ้าหน้าที่ได้ด าเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิต ร่วมกันดูแลทรัพยากรธรรมชาติ และถ่ายทอด
               ความรู้เพอน าไปสู่วิถีชีวิตการเกษตรที่มีประสิทธิภาพ และเกิดความยั่งยืนในการใช้ที่ดินสูงสุด โดยในอดีต
                        ื่
               เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้พบการท าไร่เลื่อนลอยในพนที่ป่าแก่งกระจาน ซึ่งมีข้อมูลงานวิจัยระบุว่า การท าไร่
                                                            ื้
               เลื่อนลอยมีส่วนในการสร้างความเสียหายต่อป่าไม้ ลดระยะเวลาการใช้ประโยชน์จากที่ดิน และไม่ใช่แนวทาง
               การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ซึ่งจะมีระยะเวลาการใช้ประโยชน์จากที่ดิน ประมาณ ๓๐ ปี
   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180