Page 176 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 176

หน้า ๑๖๔                                                                             ส่วนที่ ๓



                                                                                                        ิ่
                           ซึ่งในประเด็นลักษณะการท าไร่เลื่อนลอยและไร่หมุนเวียน คณะกรรมาธิการได้สอบถามเพมเติม
               เกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างไร่เลื่อนลอยและไร่หมุนเวียน ซึ่งผู้แทนกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                                                                     ี
               ได้ชี้แจงว่า การท าไร่หมุนเวียนและไร่เลื่อนลอยมีความแตกต่างเพยงชื่อเรียกเท่านั้น แต่มีลักษณะการใช้ประโยชน์
               ที่ดินไม่แตกต่างกัน กล่าวคือ เป็นลักษณะการใช้ประโยชน์จากที่ดินเพื่อการท าการเกษตรที่ไม่ยั่งยืน มีระยะเวลา
               การใช้ประโยชน์ไม่ถึง ๓๐ ปี รวมทั้งมีการเผาและถางหน้าดินด้วย
                           ส าหรับประเด็นการด าเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๓ เกี่ยวกับการ

               ฟนฟวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยง ซึ่งคณะรัฐมนตรีมอบหมายให้หน่วยงานที่รับผิดชอบหลักในการขับเคลื่อน
                    ู
                 ื้
                                                 ิ
               ประเด็นนี้ คือ กระทรวงวัฒนธรรม พจารณาด าเนินการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการนี้ กระทรวง
               ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้พจารณาด าเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง มีการแก้ไขพระราชบัญญัติ
                                                   ิ
               อุทยานแห่งชาติเกี่ยวกับการส ารวจเขตอุทยาน และส่งหนังสือเสนอความคิดเห็นประกอบการด าเนินการ
               อย่างไรก็ตาม ในชั้นนี้ยังไม่ทราบความคืบหน้าในการด าเนินงานของกระทรวงวัฒนธรรม นอกจากนี้

               มติคณะรัฐมนตรีมิได้เป็นการผูกมัดหรือเป็นกฎหมาย เป็นเพียงแนวทางการพิจารณาด าเนินการเท่านั้น
                                                               ื้
                                                ั
                           ส าหรับกรณีกลุ่มชาติพนธุ์กะเหรี่ยงในพนที่บางกลอย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากร
               ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ข้อสั่งการให้ตั้งคณะกรรมการตรวจสอบประชากรที่มีรายชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
               ในเขตบางกลอย และส ารวจการถือครองที่ดินร่วมกับชุมชน ตามมาตรา ๖๔ ของพระราชบัญญัติอุทยาน
               แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยข้อมูลการเพิ่ม - ลดประชากรจะช่วยส่งผลต่อการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม

               ในปัจจุบันได้พบปัญหาการใช้ที่ดินและการบุกรุกป่า ในพื้นที่บางกลอย และได้มีการจัดสรรที่ดินแก่ชาวบ้าน
               บางกลอยบางส่วนอาศัยอยู่ตามมาตรา ๖๔ ของพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๒ ซึ่งให้สิทธิ

               การอยู่ร่วมกัน ภายใต้กติการ่วมกันและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งเป็นการด าเนินการรูปแบบ
                           ื้
               เดียวกันกับพนที่ป่าอนุรักษ์อื่น ๆ และใช้เหตุผลด้านการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รวมทั้งไม่มี
               การลิดรอนสิทธิอีกด้วย
                           ทั้งนี้ ปัญหาส าคัญของการด าเนินการตามมาตรา ๖๔ คือ การไม่มีบัตรประชาชน ซึ่งส่งผลให้
               ประชาชนบางส่วนไม่ได้รับสิทธิจัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย

                           อย่างไรก็ตาม คณะกรรมาธิการได้ตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับประวัติการอยู่อาศัยของประชาชน
                                                          ื้
               บ้านบางกลอยก่อนมีการประกาศก าหนดให้พนที่ป่าแก่งกระจานเป็นเขตอุทยานแห่งชาติ ซึ่งผู้แทน
               กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมชี้แจงว่า ก่อนการประกาศเขตอุทยานแห่งชาติ เจ้าหน้าที่
               ไม่ทราบว่ามีการตั้งชุมชน แต่ได้พบร่องรอยการใช้ประโยชน์จากที่ดินอย่างไม่มีขอบเขตชัดเจน กระจายตัว
               อยู่ในเขตใจแผ่นดิน ใกล้ตะเข็บชายแดน และเมื่อพบชาวบ้านก็ได้พาอพยพออกมาจากบริเวณดังกล่าว

                           นอกจากนี้ คณะกรรมาธิการได้มีข้อสังเกตเกี่ยวกับการด าเนินงานของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
               และสิ่งแวดล้อม ด้านสิทธิชุมชนดั้งเดิมของกลุ่มชาติพันธุ์ ซึ่งอาจไม่สอดคล้องกับพันธกรณีระหว่างประเทศ

               หรืออนุสัญญาบางฉบับที่ประเทศไทยเป็นภาคี รวมทั้งประเด็นด้านมนุษยธรรม โดยผู้แทนกระทรวง
                                                                                                      ิ
               ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้มีข้อคิดเห็นว่า ในการพิจารณาด าเนินงานต่าง ๆ จ าเป็นจะต้องพจารณา
               อย่างรอบด้าน ทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและกระแสสังคม ซึ่งต้องมีการด าเนินการให้เกิดความสมดุลระหว่าง

               การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและวิถีชีวิตดั้งเดิม
   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181