Page 181 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 181
ส่วนที่ ๓ หน้า ๑๖๙
พิจารณาการส่งเสริมและอนุรักษ์วิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์และผลกระทบจากการบังคับใช ้
พระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๖๒
พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ รวมทั้งมาตรการทวงคืนผืนป่าของภาครัฐ
ึ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบัน มาตรา ๗๐ วางหลักการให้รัฐพงส่งเสริม
ั
และให้ความคุ้มครองชาวไทยกลุ่มชาติพนธุ์ต่าง ๆ ให้มีสิทธิด ารงชีวิตในสังคมตามวัฒนธรรม ประเพณี
และวิถีชีวิตดั้งเดิมตามความสมัครใจได้อย่างสงบสุข ไม่ถูกรบกวน ทั้งนี้ เท่าที่ไม่เป็นการขัดต่อความสงบ
เรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรัฐหรือสุขภาพอนามัย
ซึ่งต่อมา คณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ มีสาระส าคัญที่มุ่งส่งเสริม
คุ้มครอง สร้างความรู้ความเข้าใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ ลักษณะพหุสังคม
ที่ต้องอยู่ร่วมกันภายในชาติ พร้อมทั้งให้ความส าคัญต่อนโยบายและแนวทางดังกล่าว จึงจัดท าบัญชี
ร่างกฎหมายส าคัญที่จะตราขึ้นตามรัฐธรรมนูญ หมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ แนบท้ายค าแถลงนโยบายนี้
โดยจะให้มีกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและอนุรักษ์วิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์
คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพนธุ์ และผู้มีความหลากหลาย
ั
ิ
ั
ทางเพศ ตระหนักและให้ความส าคัญอันไม่อาจเพกเฉยต่อสิทธิและความเสมอภาคของกลุ่มชาติพนธุ์
ซึ่งครอบคลุมอยู่ใน ๖๗ จังหวัด ๕๖ กลุ่ม มีจ านวนรวมกันมากกว่า ๖ ล้านคน จึงเข้าไปสัมผัสรับรู้ รับทราบ
ความต้องการของกลุ่มชาติพนธุ์ทั้งที่อาศัยอยู่ในป่า เช่น มานิ หรือที่เรียกกันว่าซาไก ที่จังหวัดพทลุง
ั
ั
ั
กลุ่มชาติพนธุ์ที่อาศัยอยู่บนพนที่สูง เช่น ชาติพนธุ์ม้ง บ้านเข็กน้อย จังหวัดเพชรบูรณ์ รับฟงปัญหาของ
ั
ั
ื้
กลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ที่อ าเภอพบพระ อ าเภออุ้มผาง จังหวัดตาก อ าเภอเทิง จังหวัดเชียงราย และเปิดเวทีรับฟง
ั
ความเห็น เพื่อสานต่อความมีตัวตนของกลุ่มชาติพนธุ์ที่จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มชาติพันธุ์ชาวอุรักลาโว้ยที่ภเก็ต
ั
ู
เมื่อได้ข้อมูลมากพอ จึงจัดท าเป็นรายงานผลการพิจารณาศึกษาเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎร โดยสภาผู้แทนราษฎร
ให้ความเห็นชอบต่อรายงานและข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการในคราวการประชุมสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๕
ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญประจ าปีครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๓
ิ
จากการพจารณาศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางส่งเสริม และคุ้มครองกลุ่มชาติพนธุ์ใน
ั
ประเทศไทย มีข้อเสนอแนะเป็นแนวทางแก้ไข ดังนี้
๑. คณะรัฐมนตรีควรมีการเร่งรัดให้มีกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองกลุ่มชาติพันธุ์
๒. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ควรบูรณาการร่างพระราชบัญญัติอื่นท านอง
เดียวกันนี้กับร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและคุ้มครองกลุ่มชาติพันธุ์ พ.ศ. .... เข้ากับมติคณะรัฐมนตรีว่าด้วย
ื้
การฟนฟวิถีชีวิตชาวเล เมื่อวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๕๓ และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๕๓
ู
ู
ื้
เรื่องแนวนโยบายในการฟนฟวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยง และร่างพระราชบัญญัติสภาชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ….
๓. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พช
ื
และกรมป่าไม้ ควรยุติการด าเนินคดีกับประชาชน อันเป็นผลจากการบังคับใช้พระราชบัญญัติป่าชุมชน
พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๖๒ และพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่จะส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่หรือวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์โดยตรง