Page 185 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 185
ส่วนที่ ๓ หน้า ๑๗๓
พิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหาของบุคคลไร้รัฐ ไร้สัญชาติ
คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลาย
ิ
ทางเพศ ได้พจารณาแนวทางการด าเนินงานตามข้อเสนอแก้ไขปัญหาของบุคคลไร้รัฐ ไร้สัญชาติตามที่
ั
รองศาสตราจารย์พนธุ์ทิพย์ กาญจนจิตรา สายสุนทร ยื่นข้อเสนอโดยจัดท าเอกสาร เรื่อง “สถานการณ์ส าคัญ
เกี่ยวกับคนด้อยโอกาส ซึ่งประสบปัญหาการรับรองสถานะบุคคลตามกฎหมาย : โครงสร้างทางกฎหมาย
และนโยบายเพื่อรับรองสถานะบุคคลตามกฎหมายเป็นอย่างไร? ใครบ้างประสบปัญหา? มีแนวคิดและสูตรส าเร็จ
เพื่อจัดการปัญหาดังกล่าวไหม?” เพอเป็นเอกสารประกอบการพิจารณาของคณะกรรมาธิการแล้ว ผู้ยื่นข้อเสนอ
ื่
ิ
จึงขอแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและสะท้อนปัญหาในฐานะนักวิชาการในส่วนที่อาจจะเป็นประโยชน์ต่อการพจารณา
ศึกษาของคณะกรรมาธิการ และให้เหตุผลเพิ่มเติมว่า สังคมไทยไม่มีความเข้าใจเรื่องความเสมือนไร้สัญชาติ
ที่ดีพอ ปัจจุบันมีคนยากจนที่อ่านหนังสือไม่ออก เขียนหนังสือไม่ได้เป็นจ านวนมากที่เข้าไม่ถึงสวัสดิการสังคม
ประเทศไทยมีกฎหมายคุ้มครองให้คนมีรัฐ มีสัญชาติมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๖๘ โดยปรากฏอยู่ในประมวล
่
กฎหมายแพงและพาณิชย์ มาตรา ๑๘ ที่ก าหนดถึงสิทธิในการก าหนดชื่อบุคคล แต่ที่ยังมีคนตกหล่นจาก
การเป็นบุคคล เป็นผลกระทบจากปัญหาในทางปฏิบัติ จากประสบการณ์ท างานของผู้ยื่นข้อเสนอกว่า ๓๐
ปีที่ผ่านมา พบว่า ส่วนใหญ่ไม่มีการปฏิเสธสิทธิในการใช้ชื่อ - สกุลอีกต่อไป อีกทั้ง ความเข้าใจผิดในอ าเภอ
ต่าง ๆ ปรากฏให้เห็นน้อยมาก และหากกรมการปกครองได้รับการท้วงติงก็จะด าเนินการแก้ไขให้ถูกต้องเสมอ
ซึ่งในจุดนี้มีความเห็นว่าฝ่ายนิติบัญญัติควรปฏิรูปกฎหมายด้วยการยกระดับระบบกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิ
ในการใช้ชื่อของบุคคลด้วยหลักการก าหนดเจตจ านงของตนเอง (Self Determination)
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการรับรองสถานะของบุคคลพบว่าไม่มีข้อบกพร่องเกี่ยวกับเนื้อหาของ
กฎหมาย ประกอบกับหนังสือสั่งการของกรมการปกครองลงวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๓ มีความชัดเจน
เกี่ยวกับการจัดท าทะเบียนประวัติบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน จะเห็นได้ว่า หากมีการให้องค์ความรู้
ที่ถูกต้องเกี่ยวกับเด็กรหัสจี ก็จะสามารถด าเนินการขึ้นทะเบียนเด็กกลุ่มนี้ให้แล้วเสร็จได้ภายใน ๓๐ วัน
ผลกระทบของคนที่ไม่มีเลขประจ าตัวประชาชน คือ ไม่สามารถเข้าถึงสิทธิในหลักประกัน
สุขภาพ ทั้งที่ประเทศไทยก าหนดนโยบาย “Health for All” มาตั้งแต่วันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๖๔
ยกตัวอย่างกรณีของผู้สูงอายุคนหนึ่งที่อาศัยอยู่ในเขตหนองแขม ที่อ่านหนังสือไม่ออก เขียนหนังสือไม่ได้
ครอบครัวมีฐานะยากจน ไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัย และไม่มีบัตรประจ าตัวประชาชน ท าให้ไม่สามารถ
เข้าถึงสิทธิในหลักประกันสุขภาพ อย่างไรก็ตาม พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ และ
ิ่
ที่แก้ไขเพมเติม ก าหนดให้ต้องบันทึกสถานะทางทะเบียนราษฎรของคนทุกคนที่เกิดและอาศัยอยู่บน
ผืนแผ่นดินไทยเกินกว่า ๖ เดือน กรณีดังกล่าวจึงสะท้อนให้เห็นว่า ประเทศไทยควรยกระดับกฎหมาย
โดยไม่ควรปล่อยให้มีบุคคลที่ขาดไร้สิทธิมนุษยชนขั้นพนฐาน ทั้งนี้ หากสามารถหาครอบครัวหรือคนที่
ื้
สามารถยืนยันการเกิดของบุคคลดังกล่าวได้ จะสามารถท าบัตรประจ าตัวประชาชนได้ภายใน ๖ เดือน
ซึ่งเป็นกระบวนการที่จ าเป็นต้องอาศัยการด าเนินงานเชิงรุกในการส ารวจบุคคลที่ตกหล่นทางทะเบียนราษฎร
แต่หากไม่สามารถหาตัวผู้ที่ยืนยันการเกิดของบุคคลดังกล่าว ยังสามารถด าเนินการตามพระราชบัญญัติ
การทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ก าหนดแนวทางส าหรับการแก้ไขปัญหาเรื่องสถานะบุคคล
และสัญชาติของเด็กและบุคคลที่ไม่ปรากฏบุพการีหรือบุพการีทอดทิ้ง หรือที่เรียกว่า “คนไร้รากเหง้า”
เช่นนี้จะสามารถออกบัตรประจ าตัวประชาชนให้แก่บุคคลดังกล่าวได้ภายใน ๑ - ๒ ปี เนื่องจากไม่มี
หลักฐานว่ามีจุดเกาะเกี่ยวกับรัฐต่างประเทศ พร้อมทั้งเสนอแนะต่อคณะกรรมาธิการ