Page 188 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 188
หน้า ๑๗๖ ส่วนที่ ๓
เป้าหมายเข้าถึงสิทธิการรับรองสัญชาติ สิทธิในสวัสดิการสังคม และสิทธิที่จะมีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งมี
รายงานผลการแถลงค ามั่นต่อคณะรัฐมนตรีเมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๖๒ ว่า ประเทศอื่น ๆ ที่ได้แสดง
เจตนารมณ์ให้ค ามั่นต่อที่ประชุมว่า จะมีการทบทวนข้อกฎหมายที่ไม่สอดคล้องต่อสถานการณ์
หรือปรับปรุงนโยบายและกลไกกระบวนการแก้ไขปัญหาคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ ดังนั้น จึงเห็นว่าคณะกรรมาธิการ
ิ
ื่
ควรน าค ามั่นทั้ง ๗ ข้อ มาพจารณาทบทวนเพอด าเนินการให้มีการท างานแบบบูรณาการของทุกภาคส่วน
ที่เกี่ยวข้อง
ผู้แทนอธิบดีกรมการปกครอง ตอบข้อซักถามของคณะกรรมาธิการในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
๑. ภาพรวมของการปฏิบัติงานแก้ไขปัญหาคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ แต่เดิมส านักบริหารการทะเบียน
ี
เป็นเพยงฝ่ายเล็ก ๆ ที่ด าเนินการในเรื่องดังกล่าว ถึงแม้ในช่วง ๔ - ๕ ปีที่ผ่านมาการแก้ไขปัญหาคนไร้รัฐ
ไร้สัญชาติจะมีภารกิจและมีความส าคัญมากยิ่งขึ้น แต่จากนโยบายของรัฐบาลในเรื่องของการจ ากัดอัตรา
ี
ก าลังคน จึงยกระดับจากฝ่ายขึ้นมาเป็นส่วน ซึ่งมีอัตราก าลังในการท างานที่ส่วนกลางเพยง ๒๐ คน แต่ก็มี
ื่
ผลงานเชิงประจักษ์ ซึ่งการด าเนินงานต้องใช้ความระมัดระวังเป็นอย่างยิ่งเพอบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย
เนื่องจากมีการตรวจสอบการท างานจากหลายภาคส่วนทั้งจากหน่วยงานของรัฐ และองค์กรภาคเอกชน
อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่ ปี ๒๕๖๐ กรมการปกครองให้สัญชาติไปแล้วกว่า ๓,๐๐๐,๐๐๐ คน
ส่วนในปี ๒๕๖๕ ด าเนินการแล้วเสร็จไปกว่า ๕๐,๐๐๐ คน รวมทั้งในระดับอ าเภอได้มีการจดทะเบียนคนไร้รัฐ
ที่เข้ามาใหม่อีกประมาณ ๗ หมื่นคน
๒. กฎหมายเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรมีหน้าที่ในการรับรองตัวบุคคลว่าเป็นคนไทย มีสภาพ
บุคคลที่ชัดเจน มีเอกสารรับรองทางทะเบียน ด้วยเหตุนี้ทะเบียนบ้านกลางจึงมีไว้ส าหรับคนไร้บ้าน คนที่
ไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน หรือคนที่เคยมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านแต่ตัวเจ้าบ้านพบว่าชื่อคนเหล่านั้นไม่มีชื่อ
อยู่ในทะเบียนบ้านจริง จึงท าเรื่องย้ายชื่อบุคคลดังกล่าวเข้าทะเบียนบ้านกลาง
ทั้งนี้ การให้สิทธิและสวัสดิการมักจะผูกสิทธิไว้กับทะเบียนบ้าน สัญชาติ หรือเลขประจ าตัว
ประชาชน จึงท าให้เป้าหมายหรือการก าหนดสิทธิเกิดความย้อนแย้ง จ าเป็นต้องผ่านกระบวนการของ
กรมการปกครองในการยืนยันสิทธิของบุคคลซึ่งท าให้เกิดความล่าช้า ยกตัวอย่างของ เด็กรหัสจี ซึ่งเป็นเด็ก
ที่ไม่มีเลขประจ าตัวประชาชน เมื่อเข้าสู่ระบบการศึกษาแล้ว กระทรวงศึกษาธิการ พยายามที่จะท าการระบุ
ตัวเด็กโดยใช้รหัส ๑๓ หลักที่กระทรวงได้ก าหนดขึ้นมา ปัญหาที่ตามมาก็คือเมื่อจะขอสิทธิสวัสดิการให้เด็ก
รหัสจี ส านักงบประมาณไม่ให้การรับรองเนื่องจากมีปัญหาในเรื่องของความซ้ าซ้อน จึงส่งเรื่องให้กรมการ
ปกครองยืนยันตัวตนและก าหนดเลข ๑๓ หลักให้กับเด็กกลุ่มนี้ เพื่อที่จะสามารถจ่ายงบประมาณให้ได้ หรือ
กรณีของกองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ที่ต้องส่งเรื่องมาที่กรมการปกครองว่าจะให้สิทธิแก่คนที่ไม่มี
สัญชาติไทยด้วย กรมการปกครองจึงเปิดช่องให้คนทุกคนที่อยู่ในประเทศไทยหากไม่ใช่คนหลบหนีเข้าเมือง
สามารถจดทะเบียนให้มีเลขประจ าตัวประชาชนได้ทุกคน เพอเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการได้ แต่ในข้อเท็จจริง
ื่
ของการปฏิบัติงาน การจ าแนกระหว่างคนที่เดินทางเข้า และออกตามแนวชายแดน กับคนที่หลบหนีเข้าเมือง
เป็นเรื่องที่ท าได้ล าบาก นายอ าเภอหรือปลัดอ าเภอที่อยู่ในพนที่ชายแดนต้องตรวจสอบอย่างเข้มงวด
ื้
เพื่อป้องกันไม่ให้มีคนหลบหนีเข้าเมืองเข้าสู่ระบบทะเบียนราษฎรของประเทศไทย
ส่วนเรื่องเกี่ยวกับนโยบาย คนต่างด้าวที่อยู่ในประเทศไทยมีสิทธิที่จะได้รับสัญชาติไทย
ตามเงื่อนไขที่กฎหมายก าหนด แต่จะมีกลุ่มคนต่างด้าวที่เป็นบุตรของกลุ่มชาติพนธุ์จะได้สัญชาติเลย
ั
แต่กระบวนการของการได้สัญชาตินั้น มีปัญหาในประเด็นของเงื่อนไขของผู้มีอ านาจในการพิจารณา กรณีที่
อายุไม่เกิน ๑๘ ปี เป็นอ านาจของนายอ าเภอ และกรณีที่อายุเกิน ๑๘ ปี เป็นอ านาจของผู้ว่าราชการจังหวัด