Page 187 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 187

ส่วนที่ ๓                                                                           หน้า ๑๗๕



                                                    ิ
                           ๔. คณะกรรมาธิการต้องพจารณาว่าจะมีทิศทางการด าเนินงานในขั้นตอนต่อไปอย่างไร
                                           ิ
               ซึ่งในเบื้องต้นเห็นว่าควรมีการพจารณาขับเคลื่อนโดยแบ่งออกเป็น ๒ ระดับ ทั้งในระดับโครงสร้างและระดับ
                                                  ิ
               นโยบาย ซึ่งในระดับโครงสร้าง ควรพจารณาว่ามีพนที่ใดเหมาะสมที่จะก าหนดให้เป็นพนที่น าร่องให้มี
                                                                                               ื้
                                                              ื้
               การด าเนินงานเชิงรุกในการส ารวจบุคคลตกหล่นทางทะเบียน ส่วนการขับเคลื่อนระดับนโยบาย อาจจ าเป็น
               ที่ต้องพิจารณาเกี่ยวกับนโยบาย ระเบียบ กฎหมาย หรืองบประมาณ
                           ๕. การจัดการปัญหาและสาเหตุ การสร้างความตระหนักรู้ การล าดับความส าคัญของสิ่งที่ต้อง

               เริ่มท า และสิ่งที่ส าคัญคือสิทธิมนุษยชนที่หลายฝ่ายอาจจะไม่ให้ความส าคัญ รวมทั้งการยกระดับและการมี
               ส่วนร่วม หากมีการเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาร่วมประชุมแล้วหารือกันไปทีละข้อว่าแต่ละหน่วยงาน

               ได้ด าเนินการข้อใดไปบ้างและมีแนวทางด าเนินการอย่างไรต่อไป จะเป็นประโยชน์ต่อการขับเคลื่อน
               การแก้ไขปัญหา
                           ๖. กรณีที่ผู้ยื่นข้อเสนอได้หยิบยกขึ้นมาเป็นตัวอย่างสะท้อนถึงปัญหาเชิงโครงสร้างของระบบ

               การที่บุคคลถูกย้ายชื่อไปไว้ในทะเบียนบ้านกลางได้โดยง่าย เปลี่ยนจากคนที่มีโอกาสให้เป็นคนด้อยโอกาส
               เพราะการเข้าถึงสิทธิของบุคคลนั้นที่จะถูกระงับสิทธิทันที เช่น การท าบัตรประจ าตัวประชาชน การต่อ

                                                                                       ิ
               ใบขับขี่ หรือการเข้าถึงกองทุน เป็นต้น ซึ่งเป็นกรณีที่คณะกรรมาธิการควรน ามาพจารณาศึกษาว่ากฎหมาย
                                                                   ั
               มีข้อบกพร่องประการใดหรือไม่ รวมทั้ง กฎหมายที่เกี่ยวพนกับเรื่องความมั่นคงส่งผลกระทบต่อสิทธิของ
               บุคคลมากน้อยเพียงใด

                           ๗. คนในทะเบียนบ้านกลางมีหลายกลุ่ม แต่กลุ่มที่ไม่ควรประสบปัญหาเกี่ยวกับการใช้สิทธิ คือ
               กลุ่มคนที่ไม่มีกรรมสิทธิ์ในบ้าน ซึ่งกรณีตัวอย่างของบุคคลที่ชื่อถูกย้ายไปทะเบียนบ้านกลางมีปัญหา

               เพราะไม่มีบ้านเป็นของตนเอง ประกอบกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-๑๙ ท าให้ต้องย้ายออก
               จากบ้านและไปเช่าอีกแห่งหนึ่ง แต่ถูกแจ้งชื่อย้ายออกจากทะเบียนบ้าน จึงท าให้ถูกย้ายชื่อไปอยู่ในทะเบียน

               บ้านกลาง ส่งผลให้ถูกตัดสิทธิและสวัสดิการต่าง ๆ เช่น สิทธิรับเบี้ยผู้สูงอายุ สิทธิในการรักษาพยาบาล
               โดยใช้หลักประกันสุขภาพ ด้วยเหตุนี้จึงควรมีทะเบียนบ้านส าหรับกลุ่มคนเปราะบาง หรือคนที่ไม่มีกรรมสิทธิ์
               ในบ้าน เพราะคนยากจนหรือคนด้อยโอกาสส่วนใหญ่ไม่มีบ้านเป็นของตนเอง ซึ่งจะช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้

                           ๘. บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนในกรณีของเด็กรหัสจี และเด็กที่เป็นบุตรของคนต่างด้าว
               ที่เกิดในประเทศไทย เด็กที่เกิดจากชาวต่างชาติที่เข้ามาท างานหรืออาศัยอยู่ในประเทศไทยที่ได้สิทธิของ

               ความเป็นพลเมืองและสัญชาติไทยทันที แต่เด็กที่ตกส ารวจ หรือเด็กที่เป็นบุตรของบิดามารดาที่เป็น
                         ั
               กลุ่มชาติพนธุ์ กลับมีข้อติดขัดทางกฎหมายท าให้ไม่ได้สามารถมีสัญชาติไทยได้ทันที รวมถึงกรณีของผู้สูงอายุ
               ที่ยังไม่ได้สัญชาติไทย ท าให้ไม่มีสิทธิรับเบี้ยผู้สูงอายุ ที่ยังไม่ได้รับการแก้ไขจนกระทั่งเสียชีวิต จะเห็นว่า

               มีความเหลื่อมล้ าที่เกิดจากการบังคับใช้กฎหมาย เช่นนี้กรมการปกครองมีแนวทางในการแก้ไขปัญหาอย่างไร
                           ๙. ข้อมูลของกรมการปกครองเมื่อปี ๒๕๖๓ ระบุว่า ประเทศไทยมีผู้สูงอายุไร้สัญชาติจ านวน

               ๑๑๐,๐๐๐ คน และข้อมูลผู้ไร้สัญชาติทั่วประเทศตามที่ส านักทะเบียนกลางได้ประกาศไว้เมื่อวันที่ ๓๑
               ธันวาคม ๒๕๖๐ มีจ านวน ๙๗๐,๐๐๐ คน ดังนั้น การแก้ปัญหาคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ ควรที่จะต้องจัดการ
               แก้ไขทั้งระบบ เนื่องจากเอกอัครราชทูต ผู้แทนถาวรไทยประจ าสหประชาชาติ ได้กล่าวค ามั่นต่อที่ประชุม

               ระดับสูงของส านักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (The United Nations High Commissioner
               for Refugees: UNHCR) เมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๖๒ ซึ่งเป็นไปตามมติของคณะรัฐมนตรีที่เห็นชอบ

               ร่างค ามั่นที่มีอยู่ ๗ ข้อ ซึ่งในข้อ ๕ เป็นเรื่องเกี่ยวกับการเร่งรัดการแก้ไขปัญหาผู้สูงอายุไร้สัญชาติ และข้ออื่น ๆ
               ที่รัฐไทยแสดงเจตนารมณ์ที่จะทบทวนข้อกฎหมายและระบบการแก้ไขปัญหาคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติเพื่อให้กลุ่ม
   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192