Page 178 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 178

หน้า ๑๖๖                                                                             ส่วนที่ ๓



                              พิจารณาเรื่องร้องเรียนกรณีการขอมีสัญชาติไทยของชาติพันธุ์ไตลื้อ


                           คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลาย

                         ิ
                                                                                                      ื่
               ทางเพศ พจารณาเรื่องที่นายกสมาคมไตลื้อจังหวัดเชียงรายได้มีหนังสือถึงคณะกรรมาธิการ เพอขอให้
               ติดตามการขอสัญชาติของสมาชิกนาน ๑๐ ปี แต่ยังไม่มีความคืบหน้าแต่ประการใด คณะกรรมาธิการได้เชิญ
               อธิบดีกรมการปกครอง เข้าให้ข้อมูลต่อคณะกรรมาธิการ สรุปสาระส าคัญได้ ดังนี้
                           ผู้แทนกรมการปกครอง ได้ให้ข้อมูลว่าภารกิจหน้าที่ในเรื่องการให้สัญชาติของกรมการปกครอง
               ซึ่งอธิบดีกรมการปกครองได้ยกเป็นนโยบายส าคัญของกรม ซึ่งตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ จนถึงปัจจุบัน

               กรมการปกครองได้มีการให้สัญชาติไปแล้วจ านวน ๑๒๕,๒๖๘ คน ในเรื่องการให้สัญชาติ ไม่ว่าจะเป็น
                                                                                       ์
                         ั
               กลุ่มชาติพนธุ์หรือต่างด้าว จะด าเนินการตามกฎหมายสัญชาติ และมีหลักเกณฑต่าง ๆ ในการประกอบ
                     ิ
                                                         ์
               การพจารณา ซึ่งปัจจุบันได้มีการลดหลักเกณฑการขอสัญชาติของกลุ่มชาติพนธุ์ให้น้อยที่สุด โดยในเดือน
                                                                                   ั
               กุมภาพนธ์ที่ผ่านมา ได้มีการลดหลักเกณฑ์การขอสัญชาติของผู้เฒ่าจากอายุ ๖๕ ปีขึ้นไป ลดลงมาเหลือ ๖๐ ปี
                      ั
               เพอให้มีความสอดคล้องกับกฎหมายอื่น ซึ่งหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการขอสัญชาตินั้นจะต้องผ่านความเห็นชอบ
                  ื่
               จากคณะกรรมการ โดยมีการลดหลักเกณฑในเรื่องรายได้ ซึ่งที่ผ่านมาจะต้องมีหลักฐานการมีรายได้ประกอบ
                                                    ์
               การขอสัญชาติ แต่ปัจจุบันเป็นเพียงนายอ าเภอรับรอง ส่วนในเรื่องความประพฤติจะเป็นหน่วยความมั่นคง
               รับผิดชอบในการตรวจสอบซึ่งปัจจุบันใช้บุคคลรับรองจ านวน ๓ คน
                           จากการติดตามการขอสัญชาติของนายกสมาคมไตลื้อจังหวัดเชียงรายนั้น กลุ่มไตลื้อดังกล่าว
                                               ์
               ได้ยื่นเรื่องสัญชาติโดยใช้หลักเกณฑเก่า และส่วนหนึ่งในจ านวน ๘๘ ราย ไม่ใช่ผู้เฒ่า ตามที่ได้ยื่นเรื่องนั้น
               เอกสารได้ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๕๙ โดยจ านวน ๖๘ ราย คุณสมบัติ
                                                      ์
                                   ์
               ไม่ครบตามหลักเกณฑ รายได้ไม่ผ่านเกณฑ ๔๐,๐๐๐ บาท/เดือน ได้สัญชาติไปแล้ว ๓ ราย เสียชีวิตแล้ว
               ๓ ราย อยู่ระหว่างการยื่นขอสัญชาติใหม่ ๑ ราย ไม่พบการยื่นค าขอมีสัญชาติ ๑๒ ราย
                           คณะกรรมาธิการได้ซักถามผู้แทนกรมการปกครองใน ๒ ประเด็น คือ ๑. หากผู้ยื่นขอสัญชาติ
               ได้ยื่นโดยใช้หลักเกณฑเก่า และเมื่อปัจจุบันได้มีการแก้ไขหลักเกณฑใหม่แล้วนั้น กรมการปกครองจะมี
                                    ์
                                                                             ์
               วิธีการด าเนินการอย่างไร และ ๒. การลงรายละเอียดของสถานะบุคคลที่เกิดจากการสื่อสารจนท าให้เกิด
               ข้อผิดพลาดคลาดเคลื่อนในเรื่องสถานะจนท าให้เด็กขาดโอกาสทางการศึกษา กรมการปกครองมีแนวทาง

               ในการแก้ไขปัญหาอย่างไร
                           ผู้แทนกรมการปกครองได้ชี้แจงว่า ดังนี้ ขั้นตอนกระบวนการในการขอสัญชาตินั้นต้องผ่าน
               การพจารณาคณะกรรมการ ๓ ระดับ คือ ระดับจังหวัด ระดับกรม และคณะกรรมการชุดใหญ่ ในส่วนของบุคคล
                    ิ
               ที่ยื่นขอสัญชาติโดยใช้หลักเกณฑ์เก่าก็สามารถรวบรวมหลักฐานให้ครบและยื่นเข้ามาอีกครั้งโดยใช้หลักเกณฑใหม่
                                                                                                         ์
                                                                ิ
               ซึ่งในจ านวน ๖๘ ราย ของกลุ่มไตลื้อที่ยังไม่ผ่านการพจารณาก็สามารถใช้เอกสารเก่ายื่นเรื่องเข้ามาใหม่
               ตามขั้นตอนโดยคุณสมบัติจะต้องครบตามหลักเกณฑ    ์
                           ส่วนในประเด็นเกี่ยวกับสถานะบุคคลที่มีความคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงนั้น สามารถยื่นเรื่อง
               เพื่อท าการแก้ไขได้โดยจะต้องมีพยานบุคคลยืนยัน และมีนายอ าเภอเป็นผู้อนุมัติ ซึ่งนายทะเบียนจะต้องมี

               ความรอบคอบในการแก้ไข และหากนายทะเบียนไม่รับค าร้องก็สามารถอุทธรณ์ค าสั่งนายทะเบียนได้
                           ที่ประชุมได้ตั้งข้อสังเกตว่าหากมีการลดหลักเกณฑในการให้สัญชาติท าให้บุคคลสามารถ
                                                                          ์
               ได้สัญชาติง่ายขึ้น ก็จะท าให้มีคนสัญชาติไทยมากขึ้น ซึ่งจะสามารถช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจได้
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183