Page 14 - บทท8-60_Neat
P. 14

เมื่อผู้ป่วยรายหนึ่งมาด้วยอาการสั่น สิ่งจ าเป็นส าหรับแพทย์คือต้องให้การวินิจฉัยและต้องแยกโรค

               ได้อย่างถูกต้องโดยอาศัยลักษณะของอาการสั่นและประวัติส่วนอื่นมาประกอบ



                                                       ตัวอย่างกรณีศึกษา

                     ผู้ป่วยชาย อายุ 50 ปี มีอาการสั่นที่มือซ้าย มักเป็นขณะที่มืออยู่เฉยๆ หรือนั่งพัก นอกจากนี้สังเกตว่าอาการตัว
                    แข็ง เดินล าบาก เวลาเขียนหนังสือพบว่าตัวหนังสือมีขนาดเล็กลงและเบียดชิดกัน อาการทั้งหมดค่อยๆ เป็นมาก


                                       ขึ้นเรื่อยๆ ยังไม่เคยไปรักษาที่ใดมาก่อน ไม่เคยมีโรคประจ าตัว















                       จากกรณีศึกษาผู้ป่วยชายมาด้วยอาหารสั่นที่มีลักษณะ resting tremor ร่วมกับมีอาการทรงตัว

               ล าบากเวลาเคลื่อนไหว (postural instability) เขียนตัวหนังสือเล็กลง  (micrographia) การด าเนินโรคพบว่ามี

               ลักษณะเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ (progressive course) ซึ่งเข้าได้กับโรคพาร์คินสันมากที่สุด นอกจากนี้ยังอาจมี

               สาเหตุจากยาที่กระตุ้นให้เกิดอาการคล้ายพาร์คินสัน (parkinsonism) ได้แก่ ยาลดความดันโลหิตกลุ่มต้าน

               ช่องแคลเซียม (calcium channel blocker) ยาต้านจิตประสาท (neuroleptics) ยาควบคุมจังหวะการเต้นของ

               หัวใจ เช่น amiodarone เป็นต้น





















                                                                                  สราวุธ สุขสุผิว_ภาคการศึกษาที่ 3/2560
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19