Page 2 - Annal Report Ed-CMU 2019
P. 2

มช. สานต่อแนวทาง



                                     บริการวิชาการที่เกิดประโยชน์แก่สังคม









          รองศาสตราจารย์ ดร.อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ
          รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่




                 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  ตั้งเป้ายุทธศาสตร์การบริการ สร้างองค์ความรู้ใหม่ ลักษณะที่ 2 งานวิจัยเพื่อนำาไปสู่ผลเชิงพาณิชย์
          วิชาการที่เกิดประโยชน์แก่สังคม  มุ่งเป็นที่ยอมรับของกลุ่มเป้าหมาย  ลักษณะที่ 3 งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ซึ่งทั้งสามส่วนนี้จะนำามาสู่การบริการ
          และได้รับการนึกถึงเป็นที่แรกในการแก้ไขปัญหาสำาคัญและเสริมพลังของ วิชาการที่มีผลกระทบสูงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
          ชุมชน ท้องถิ่นและสังคม โดยใช้ศักยภาพของมหาวิทยาลัยและเครือข่าย    ด้านการทำางานเชิงรุกมหาวิทยาลัยเชียงใหม่จะเน้น 3 ด้าน
                 รองศาสตราจารย์ ดร.อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ รองอธิการบดี  หลักนี้และเริ่มสนับสนุนวิชาการรับใช้สังคมเพื่อให้เกิดผลกระทบสูง โดย
          มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กล่าวถึง ยุทธศาสตร์การบริการวิชาการที่เกิด โจทย์ที่นำามาใช้ในการวิจัยจะเป็นโจทย์ของชุมชนจริงๆ  เราจะมีกลไก
          ประโยชน์แก่สังคมว่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่กำาหนดแผนพัฒนาการศึกษา สนับสนุนให้นักวิจัย คณาจารย์ นักศึกษาของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
          มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ไปพัฒนาโจทย์ร่วมกับชุมชนและดำาเนินการวิจัยจนนำาไปสู่ผลงานวิชาการ
          กำาหนดวิสัยทัศน์ไว้ว่า เป็น “มหาวิทยาลัยชั้นนำา รับผิดชอบต่อสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่สนับสนุนให้คณาจารย์ได้ขอกำาหนดตำาแหน่งทาง
          และสร้างการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่ยั่งยืน” เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย  วิชาการจากผลงานวิชาการที่ได้ทำาร่วมกับชุมชน
          “รับผิดชอบต่อสังคม” (CMU Societal Engagement) มหาวิทยาลัย    ในอีก 4 ปีข้างหน้า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ยังใช้ทุนเดิมทางด้าน
          เชียงใหม่ได้กำาหนดยุทธศาสตร์ตามพันธกิจด้านบริการวิชาการที่เกิด การวิจัยและนวัตกรรม ในขณะเดียวกันก็สร้างโครงการใหม่ร่วมกับชุมชน
          ประโยชน์แก่สังคม  และมุ่งมั่นดำาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย  “มหา- ซึ่งในการทำางาน  คณาจารย์  นักวิจัยและนักศึกษา  จะร่วมมือกับภาคี
          วิทยาลัยเชียงใหม่เป็นที่ยอมรับของกลุ่มเป้าหมายและได้รับการนึกถึง ที่เกี่ยวข้อง ทั้งชุมชน หน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชน กลุ่ม SME
          เป็น “ที่แรก” ในการแก้ไขปัญหาสำาคัญ และเสริมพลังของชุมชน ท้องถิ่น ภาคธุรกิจเอกชน ภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งองค์กรนานาชาติ
          และสังคม  โดยใช้ศักยภาพของมหาวิทยาลัยและเครือข่าย”  โดยมหา-
          วิทยาลัยเชียงใหม่มี “ทุนเดิม” ทางด้านการวิจัยและนวัตกรรมที่เป็น
          จุดแข็งอยู่แล้ว แต่ในอีก 4 ปีข้างหน้าจะเน้นหนัก 3 เรื่องหลัก คือ พลังงาน
          และสิ่งแวดล้อม เกษตรกรรม อาหารและผู้สูงอายุ และล้านนาสร้างสรรค์
          โดยใช้องค์ความรู้ นวัตกรรมที่มาจากการวิจัยของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
          ซึ่งมี 3 ลักษณะ ลักษณะที่ 1 งานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศเป็นการวิจัยเพื่อ
   1   2   3   4   5   6   7