Page 7 - Annal Report Ed-CMU 2019
P. 7
4 4
นายชวลิต กอสัมพันธ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จากไร่ข้าวโพด...สู่สวนเกษตร
แบบผสมผสานและยั่งยืน (ระยะที่ 1)
เป็นที่ยอมรับกันว่าการเปลี่ยนแปลงจากป่าไม้และไร่หมุนเวียน ในครัวเรือนแล้ว ยังสามารถจำาหน่ายเป็นเงินสดได้ ลำาต้นนำาไปเลี้ยงสัตว์
ไปสู่แปลงเกษตรเชิงเดี่ยวเพื่อการค้า ในพื้นที่อำาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ได้ ใบก็สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ได้ ระยะที่ 2 ช่วงฤดูฝน การปลูกไม้ผล
เป็นเรื่องที่ทุกคนกังวล ทั้งในแง่การสูญเสียพื้นที่ป่า การเสื่อมสภาพของ 1 ชนิด อย่างน้อย 1 ชนิด เช่น อะโวคาโด้ แมคคาเดเมีย เป็นต้น พร้อม
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การตกค้างของการใช้สารเคมีปราบ ปลูกต้นกาแฟอราบิก้าซึ่งเป็นไม้พุ่มขนาดเล็กในพื้นที่ระหว่างต้นและ
ศัตรูพืชในระบบพืชเชิงเดี่ยว การชะล้างหน้าดินเป็นสาเหตุให้แม่น� แถวของกวล้วยน�ว้าและไม้ยืนต้น ระยะที่ 3 การเก็บผลผลิตกาแฟจะ
ลำาธารตื้นเขิน และที่สำาคัญทำาให้เกิดฝุ่นควันจากการเผาเศษซากพืชหลัง ดำาเนินการในปีที่ 3 พร้อมจัดหาตลาดสำาหรับผลผลิตทางการเกษตรแก่
ฤดูเพาะปลูกในรอบปีของเกษตรที่ทำาเกษตรระบบนี้ ในระยะไม่ถึง 10 ปี เกษตรกร เมื่อพื้นที่เกษตรของเกษตรกรปรับเปลี่ยนมาสู่รูปแบบที่หลาก
บางพื้นที่ กลายเป็นพื้นที่เสื่อมโทรม (Degraded Land) ดังนั้น การสร้าง หลายและยั่งยืน จะลดการเสื่อมสภาพของทรัพยากร และลดฝุ่นควันที่
พื้นที่สีเขียวและทำาให้ป่าฟืนตัวเป็นโจทย์ยากสำาหรับทุกหน่วยงาน ในฐานะ เกิดจากการเผาเศษซากพืชในแปลงเกษตร
ภาคอุดมศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ จึงได้ปรับวิถีคิดของชุมชนโดยใช้ ในช่วงระยะที่ 1 คณะเกษตรศาสตร์ ได้ดำาเนินการฝึกอบรมให้
แนวคิดการเปลี่ยนแปลงระบบการปลูกพืชจากไม้ล้มลุกเชิงเดี่ยวไปเป็น ความรู้แนวคิดของโครงการฯ และฝึกปฏิบัติการวางผังปลูกในระยะแรก
ไม้ยืนต้นที่หลากหลายและยั่งยืน โดยแบ่งระยะการดำาเนินงานเป็น 3 ระยะ และเพิ่มทักษะทางการเกษตรแก่เกษตรกร เช่น การปลูกพืชเหลื่อมฤดู
ระยะที่ 1 ใช้กล้วยน�ว้าเป็นไม้เบิกนำาเพื่อนำาความชุ่มชื้นและ โดยมีเจ้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำาบลแม่ศึก และเกษตรกรจาก
ความอุดมสมบูรณ์กลับเข้าไปในพื้นที่โล่งแจ้ง กล้วยน�ว้าสามารถปลูกได้ บ้านปางอุ๋ง บ้านปางเกี๊ยะ บ้านแม่หยอด บ้านนาฮ่องใต้ รวมทั้งสิ้น 20 ราย
ในฤดูแล้ง ผลผลิตแรกที่ออกจากแปลงคือกล้วยน�ว้า นอกจากการบริโภค เป็นพื้นที่นำาร่อง