Page 12 - Annal Report Ed-CMU 2019
P. 12
9 9
เสริมโครงการเลี้ยงไก่เพื่อเป็นแหล่งโปรตีนร่วมกับส่งเสริม พื้นบ้านที่ตนเองและเพื่อนได้ปลูกไว้ โดยการสอนของคณาจารย์
การปลูกผักพื้นบ้านและผักอายุข้ามปีเพื่อเป็นแหล่งอาหาร จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปัจจุบันชะอมเติบโตเร็วมาก สามารถ
สำาหรับการปรุงอาหารกลางวัน และโครงการนี้จึงถือเป็นอีก เก็บเกี่ยวผลผลิตใบอ่อนหรือส่วนยอดของใบสามารถนำามา
แรงหนุนสำาคัญที่จะช่วยลดภาวะทุพโภชนาการของเด็กๆ ได้ รับประทานได้ตลอดทั้งปี เมนูอาหารกลางวัน ได้แก่ ไข่ทอด
อย่างแน่นอน การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนสารอาหารของ ชะอม แกงหน่อไม้ใส่ยอดชะอม เป็นต้น
เยาวชนในพื้นที่ห่างไกล ด้วยการสร้างความมั่นคงทางอาหาร
ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนในสังคมเกษตรกรรมได้ สรุป
อย่างเป็นรูปธรรม จากความร่วมมือของเกษตรกร นักเรียน ทำาให้เกิด
ด.ญ.กรรณิกา วังแก้ว เล่าว่า ตนเองกับเพื่อนอีก การพัฒนาอาชีพทางด้านเกษตรกรรมที่มีศักยภาพมีความรู้
4 คน รับหน้าที่ดูแลการเลี้ยงไก่ในโครงการเกษตรเพื่ออาหาร ความคิดเชิงวิเคราะห์ สามารถเพิ่มผลผลิต รวมทั้งสามารถ
กลางวันทุกๆ วัน โดยแบ่งหน้าที่ที่ได้รับผิดชอบอย่างชัดเจน จัดการผลผลิตได้อย่างมีคุณภาพเพื่อการ บริโภคและสร้าง
ซึ่งทุกวันจะเริ่มเข้ามาดูแลตั้งแต่ 07.30 น. เพื่อให้อาหารแม่ รายได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม เกิดการเรียนรู้ตามแนวทาง
ไก่ไข่ รวมทั้งปัดกวาดโรงเรือนให้สะอาดสะอ้าน และจะกลับ เศรษฐกิจพอเพียง
มาช่วยกันเกลี่ยอาหาร ดูความเรียบร้อย พร้อมกับเปิดพัดลม
ระบายอากาศและเปิดเพลงช่วยผ่อนคลายความเครียดจาก
สภาพอากาศในช่วง 12.00 น. ก่อนกลับบ้านตอน 14.00 น.
จึงมาเกลี่ยอาหารอีกครั้ง อีกส่วนจะทำาหน้าที่เก็บไข่ไก่ บันทึก
ข้อมูล และทำาความสะอาดเป็นรอบสุดท้าย
ด.ช.มูจันทร์ ลิซอ เป็นผู้ดูแลและรดน�ในส่วนของ
ผักพื้นบ้าน ได้ใช้เวลาหลังเลิกเรียนดูแลสวนชะอมและพืช